×

นักดาราศาสตร์

ค้นพบดวงจันทร์
26 กุมภาพันธ์ 2024

นักดาราศาสตร์ค้นพบ 3 ดวงจันทร์ใหม่ที่โคจรรอบดาวยูเรนัสและดาวเนปจูน

นักดาราศาสตร์ได้ค้นพบดวงจันทร์ดวงใหม่ของดาวยูเรนัสเป็นครั้งแรกในรอบกว่า 20 ปี เช่นเดียวกับสองดวงจันทร์ใหม่ของดาวเนปจูนที่มีความสว่างน้อยสุดเท่าที่ถูกตรวจพบได้จากกล้องโทรทรรศน์บนภาคพื้นโลก   ดวงจันทร์ที่มีชื่อชั่วคราวว่า S/2023 U1 ก่อนจะได้รับการตั้งชื่อตามตัวละครจากบทประพันธ์ของ วิลเลียม เชกสเปียร์ กลายเป็นเทหวัตถุดวงที่ 28 ที่ถูกพบว่าโค...
20 กุมภาพันธ์ 2024

นักดาราศาสตร์พบเควซาร์ที่สว่างที่สุดในเอกภพ และหลุมดำที่มีอัตราเติบโตเร็วที่สุด

นักดาราศาสตร์ค้นพบเควซาร์สว่างแห่งใหม่ ที่ทำลายสถิติเป็นวัตถุที่สว่างที่สุดในเอกภพ จากหลุมดำที่มีอัตราเติบโตรวดเร็วที่สุดเท่าที่เคยถูกพบมา ด้วยการกลืนกินมวลเข้าไปเทียบเท่ากับมวลของดวงอาทิตย์ในแต่ละวัน   เควซาร์ J0529-4351 ที่ถูกพบโดยคณะนักดาราศาสตร์จากนานาประเทศ อยู่ห่างจากโลกมากเสียจนแสงต้องใช้เวลากว่า 12,000 ล้านปีเพื่อเดินทางมาถึง ...
1 กุมภาพันธ์ 2024

นักวิจัยไทยพบ 13 กาแล็กซีในยุคแรกเริ่มของเอกภพ จากข้อมูลกล้องเจมส์ เว็บบ์

ดร.ณิชา ลีโทชวลิต นักวิจัยของสถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ หรือ NARIT ได้นำทีมคณะนักดาราศาสตร์นานาประเทศตรวจพบกาแล็กซีมวลน้อยเพิ่มอีก 13 แห่งที่มีอยู่ตั้งแต่เอกภพ มีอายุเพียง 550-700 ล้านปี   งานวิจัยดังกล่าวได้ศึกษาข้อมูลจากกล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์ เว็บบ์ ภายใต้โครงการวิจัย GLASS-JWST-ERS เพื่อตรวจหากาแล็กซียุคแรกเริ่มของเอกภพ ที่กำเนิด...
กาแล็กซีมืด
16 มกราคม 2024

นักดาราศาสตร์พบกาแล็กซีมืดสนิท ไม่มีดาวฤกษ์ปรากฏอยู่ จากความผิดพลาดในการสำรวจ

นักดาราศาสตร์ได้ตรวจพบกาแล็กซีประหลาดที่ไม่มีแสงดาวฤกษ์ปรากฏอยู่ แต่อุดมไปด้วยก๊าซไฮโดรเจนปริมาณมาก จากการที่กล้องโทรทรรศน์วิทยุซึ่งมีเป้าหมายสำรวจวัตถุอื่นบนท้องฟ้าหันไปผิดตำแหน่งโดยไม่ได้ตั้งใจ   กาแล็กซี J0613+52 อยู่ห่างจากโลกไปราว 270 ล้านปีแสง ในทิศของกลุ่มดาวสารถี ซึ่งข้อมูลจากกล้องโทรทรรศน์วิทยุ Green Bank พบว่ามีก๊าซไฮโดรเจนมวลม...
4 ธันวาคม 2023

กล้องเจมส์ เว็บบ์ พบโมเลกุลการเกิดดาวเคราะห์หินในบริเวณสภาพแวดล้อมรุนแรงของทางช้างเผือก

กล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์ เว็บบ์ ได้ตรวจพบโมเลกุลสำคัญสำหรับการกำเนิดดาวเคราะห์หิน ในบริเวณที่มีสภาพแวดล้อมปั่นป่วนรุนแรงที่สุดแห่งหนึ่งในกาแล็กซีทางช้างเผือก   นักดาราศาสตร์จากนานาประเทศได้ใช้กล้องเจมส์ เว็บบ์ ศึกษาบริเวณจานกำเนิดดาวเคราะห์ 15 แห่ง ภายในเนบิวลาล็อบสเตอร์ หรือวัตถุ NGC 6357 ซึ่งเป็นเนบิวลาที่อยู่ห่างจากโลกไปราว 5,500 ปีแส...
ดาวเคราะห์
2 ธันวาคม 2023

นักดาราศาสตร์พบ 6 ดาวเคราะห์ใหม่ ในระบบดาวที่พบได้ยากในเอกภพ

นักดาราศาสตร์พบว่าระบบดาว HD110067 ที่อยู่ห่างจากโลกไปราว 100 ปีแสง ประกอบด้วยดาวเคราะห์โคจรอยู่ไม่น้อยกว่า 6 ดวง ที่โคจรรอบดาวฤกษ์อย่างสัมพันธ์กัน และแทบไม่ถูกรบกวนหรือเปลี่ยนแปลงไปนับตั้งแต่การก่อตัวขึ้นมาเมื่อหลายพันล้านปีที่แล้ว   ระบบดาวดังกล่าวถูกตรวจพบดาวเคราะห์นอกระบบดวงแรกเมื่อปี 2020 โดยกล้อง Transiting Exoplanet Survey Satelli...
ดาวเคราะห์นอกระบบสุริยะ
1 พฤศจิกายน 2023

นักดาราศาสตร์ไทย ค้นพบดาวเคราะห์นอกระบบสุริยะดวงใหม่ โคจรรอบดาวฤกษ์สองดวง

นักวิจัยไทยร่วมกันค้นพบดาวเคราะห์นอกระบบสุริยะดวงที่ 2 ของระบบดาว RR Cae ที่อยู่ห่างจากโลกไปประมาณ 69 ปีแสง โดยถือเป็นครั้งแรกที่มีการพบดาวเคราะห์ในระบบดาวอื่น จากผลงานของคณะนักดาราศาสตร์คนไทยทั้งหมด   เนื่องจากดาวเคราะห์นอกระบบสุริยะมักมีระยะห่างไกลจากโลก และมีขนาดที่เล็กมากเมื่อเทียบกับดาวฤกษ์ ทำให้นักดาราศาสตร์ต้องใช้วิธีการโดยอ้อมในก...
ปรากฏการณ์ประหลาด
9 ตุลาคม 2023

กล้องฮับเบิลพบปรากฏการณ์ประหลาดเกิดขึ้นในจุดที่นักดาราศาสตร์ไม่คาดคิดเป็นครั้งแรก

กล้องฮับเบิลได้ถ่ายภาพการเกิด LFBOT หรือแสงสว่างวาบสีน้ำเงินที่ปรากฏให้เห็นในช่วงเวลาสั้นๆ โดยนอกจากจะเป็นปรากฏการณ์ที่นักดาราศาสตร์ยังไม่สามารถระบุที่มาได้อย่างชัดเจนแล้ว ข้อมูลล่าสุดยังพบว่ามันเกิดขึ้นในจุดที่ไม่ควรอยู่ ซึ่งสร้างความฉงนและคำถามมากมายให้กับนักดาราศาสตร์   ปรากฏการณ์ดังกล่าวถูกตรวจพบเมื่อวันที่ 10 เมษายน 2023 มีชื่อว่า A...
นักดาราศาสตร์
2 กันยายน 2023

นักดาราศาสตร์ไทยร่วมใช้กล้องเจมส์ เว็บบ์ ศึกษาคุณสมบัติกาแล็กซียุคแรกของเอกภพ

คณะนักวิจัยจากนานาประเทศ รวมถึงประเทศไทย ได้ใช้กล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์ เว็บบ์ ศึกษากาแล็กซี MACS1149-JD1 หรือ JD1 พบว่ามีมวลค่อนข้างน้อย และอยู่ห่างจากโลกไปราว 13,300 ล้านปีแสง หรือเทียบเท่ากับ 4% ของอายุเอกภพในปัจจุบัน   การศึกษาหากาแล็กซียุคแรกของเอกภพเป็นหนึ่งในเป้าหมายสำคัญของกล้องเจมส์ เว็บบ์ ที่สำรวจจักรวาลในช่วงรังสีอินฟราเรด โดย...
เนบิวลาวงแหวน
7 สิงหาคม 2023

นักดาราศาสตร์เปิดภาพเนบิวลาวงแหวน วาระสุดท้ายของดาวฤกษ์ สุดคมชัดจากกล้องเจมส์ เว็บบ์

“เรากำลังเป็นสักขีพยานในช่วงชีวิตบทสุดท้ายของดาวฤกษ์ และดวงอาทิตย์เราก็จะพบกับชะตากรรมเช่นนี้ในอนาคตอันไกลโพ้น” เป็นคำอธิบายของศาสตราจารย์ไมค์ บาร์โลว์ ผู้นำทีมนักดาราศาสตร์นานาชาติ ที่ใช้กล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์ เว็บบ์ บันทึกภาพเนบิวลาวงแหวนในย่านอินฟราเรดแบบคมชัด   เนบิวลาวงแหวน หรือวัตถุ Messier 57 ตั้งอยู่ห่างจากโลกประมาณ 2,500 ปีแสง...


Close Advertising