×

ดาราศาสตร์

โลกหมุนรอบ​ตัวเอง​
11 มกราคม 2021

รู้หรือไม่ ปี 2020 โลกหมุนรอบ​ตัวเอง​เร็วที่สุด​ใน​รอบ​ครึ่ง​ศตวรรษ

เหตุการณ์มากมายที่เกิดขึ้นในปีที่แล้ว โดยเฉพาะการระบาดของโรคโควิด-19 ล้วนแล้วแต่ทำให้เรารู้สึกว่าอยากให้ปี 2020 นั้นผ่านไปเร็วๆ และก็เหมือนจะเป็นเรื่องที่ตรงกันโดยบังเอิญ​ เมื่อผลการวัดค่าความเร็ว​ในการหมุนรอบ​ตัวเอง​ของโลกปรากฏ​ออกมา​ว่า ในปี 2020 นั้นโลกเราหมุน​รอบตัว​เองเร็วขึ้นกว่าปีไหนๆ ตลอดช่วงครึ่งศตวรรษ​ที่ผ่านมา   เกิดอะไรขึ้น ...
สดร. ชวนชมปรากฏการณ์ ‘ดาวพฤหัสบดีเคียงดาวเสาร์’ ใกล้ที่สุดในรอบ 397 ปี ในคืนวันที่ 20-23 ธ.ค. นี้
16 ธันวาคม 2020

สดร. ชวนชมปรากฏการณ์ ‘ดาวพฤหัสบดีเคียงดาวเสาร์’ ใกล้ที่สุดในรอบ 397 ปี ในคืนวันที่ 20-23 ธ.ค. นี้

เมื่อวานนี้ (15 ธันวาคม) ศุภฤกษ์ คฤหานนท์ หัวหน้างานบริการวิชาการทางดาราศาสตร์ สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ สดร. เปิดเผยว่า ในช่วงวันที่ 20-23 ธันวาคมนี้ จะเกิดปรากฏการณ์ ‘ดาวพฤหัสบดีเคียงดาวเสาร์’ ใกล้ที่สุดในรอบ 397 ปี หรือที่เรียกกันว่าปรากฏการณ์ ‘The Great Conjunction 2020’ โดยในช่วงคืนดังกล่าว ดาวพฤหัสบดีและดาวเสาร์จะปรากฏ...
The Great Conjunction ดาวพฤหัสบดีพบดาวเสาร์
16 ธันวาคม 2020

เพ ลา เพลิน เปิดสถานที่ให้ชม The Great Conjunction ดาวพฤหัสบดีพบดาวเสาร์ในรอบ 397 ปี ฟรี!

เพ ลา เพลิน จังหวัดบุรีรัมย์ แหล่งท่องเที่ยวเชิงเรียนรู้แห่งอีสานใต้ เปิดพื้นที่ให้โรงเรียนในละแวกใกล้เคียงและบุคคลทั่วไปร่วมสังเกตการณ์ปรากฏการณ์ The Great Conjunction ที่ดาวพฤหัสบดีและดาวเสาร์โคจรเข้าใกล้กันที่สุดในรอบ 397 ปี เพื่อส่งเสริม ‘การท่องเที่ยวการเรียนรู้เชิงดาราศาสตร์’ เพื่อกระตุ้นการท่องเที่ยวภายในประเทศรูปแบบใหม่ ตามนโยบายความร่วมมือ...
‘ชมดาว รับลมหนาว’ กับนิทรรศการและท้องฟ้าจำลองรอบพิเศษ
30 ตุลาคม 2020

‘ชมดาว รับลมหนาว’ กับนิทรรศการและท้องฟ้าจำลองรอบพิเศษ

นอกจากกิจกรรมลอยกระทงและเทศกาลฮาโลวีนที่มาสร้างสีสันในวันที่ 31 ตุลาคม 2563 ในปีนี้ สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NARIT ก็จัดกิจกรรมพิเศษ Night at the Museum เปิดเทศกาลชมดาว...รับลมหนาว 2563-2564 ชวนดูดาวชมจันทร์คืน Micro Blue Moon พร้อมฉลองเทศกาลฮาโลวีนและลอยกระทงไปพร้อมกัน โดยเปิดให้ชมนิทรรศการดาราศาสตร์และท้องฟ้าจำลองรอบพิเศษ...
15 กันยายน 2020

การพบโมเลกุล ‘ฟอสฟีน’ ในชั้นบรรยากาศดาวศุกร์ กุญแจดอกแรกสู่การไขคำตอบสิ่งมีชีวิตบน ‘ดาวฝาแฝดโลก’

  ทีมนักดาราศาสตร์จากมหาวิทยาลัย​คาร์ดิฟฟ์ในสหราชอาณาจักร ประกาศ​การค้นพบโมเลกุลของสารประกอบ ‘ฟอสฟีน’ ในชั้นบรรยากาศของดาวศุกร์​ ดาวเคราะห์ที่อยู่ใกล้โลกเราที่สุด และมีขนาดรวมถึงแรงโน้มถ่วงที่ใกล้เคียงโลกเราจนถูกขนานนามว่าเป็นดาวฝาแฝด แต่กลับถูกมองข้ามตลอดมาในโครงการสำรวจอวกาศ   ทำไมที่ผ่านมาเราไม่เคยเน้นไปสำรวจหาร่องรอยชีวิต...
15 กันยายน 2020

BREAKING: ค้นพบก๊าซฟอสฟีนในชั้นบรรยากาศ สัญญาณบ่งชี้อาจมีสิ่งมีชีวิตบนดาวศุกร์

วันนี้ (14 กันยายน) นักดาราศาสตร์ค้นพบว่า ก๊าซฟอสฟีน (Phosphine) ในชั้นบรรยากาศของดาวศุกร์ ซึ่งเป็นก๊าซที่เกิดขึ้นได้จากสิ่งมีชีวิตหรือห้องทดลองทางวิทยาศาสตร์ เป็นสัญญาณที่อาจบ่งชี้ได้ว่า มีสิ่งมีชีวิตอาศัยอยู่บนดาวศุกร์ นับเป็นความสำเร็จก้าวสำคัญในความพยายามค้นหาสิ่งมีชีวิตบนดาวเคราะห์ดวงอื่นๆ และทำความเข้าใจดวงดาวเพิ่มมากขึ้น   อ้างอิง...
1 กันยายน 2020

พบวิธีสร้างยานอวกาศจากโฟมที่เบาบาง ลดเวลาเดินทางข้ามระบบดาวจาก 73,000 ปี เหลือเพียง 185 ปี

  จักรวาลนั้นกว้างใหญ่​ไพศาล​สุดที่จะจินตนาการ​ แม้ดาวฤกษ์​ดวงที่อยู่​ใกล้เพียงถัดไปจากดวงอาทิตย์ของเรา ​นั่นคือดาวพร็อกซิมา เซนทอรี (Proxima Centauri) ก็ยังอยู่ไกลถึง 4.37 ปีแสง ระยะทางนี้ต้องถือว่าไกลเกินคิดฝันว่าจะส่งยานเดินทางไปสำรวจได้   ตัวเลข 4.37 ปีแสงอาจดูเป็นเลขจำนวนน้อยๆ แต่หากลองพินิจดูว่า แสงซึ่งก็คือสิ่งที่เร็วท...
7 สิงหาคม 2020

สดร. ชี้แจง เสียงดังสนั่นช่วงเย็น 6 ส.ค. คาดอาจเกิดจากดาวตกขนาดใหญ่พุ่งผ่านท้องฟ้าด้วยความเร็วสูง

วานนี้ (6 สิงหาคม) ดร.ศรัณย์ โปษยะจินดา ผู้อำนวยการสถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (สดร.) กล่าวว่า ตามที่มีข้อมูลเผยแพร่ทางโซเชียลมีเดียในช่วงเย็นเวลาประมาณ 17.00 น. มีประชาชนจำนวนหนึ่งได้ยินเสียงดังสนั่นบริเวณพื้นที่เขตสายไหม, แจ้งวัฒนะ และพระราม 2 ในเขตกรุงเทพมหานคร รวมถึงบริเวณอำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี และหลายพื้นที่ในจังหวัดปทุมธานี รู้สึกได้ถ...
20 กรกฎาคม 2020

18-23 ก.ค. นี้ สดร. ชวนคนไทยลุ้นชมดาวหางนีโอไวส์ด้วยตาเปล่า ครั้งเดียวในรอบกว่า 6 พันปี

เมื่อวันที่ 18 กรกฎาคมที่ผ่านมา ทางเพจเฟซบุ๊ก ‘สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ’ หรือ สดร. เปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับดาวหางนีโอไวส์ หรือ C/2020 F3 (NEOWISE) โดยระบุว่า ดาวหางดังกล่าวเป็นดาวหางคาบยาว และจากข้อมูลล่าสุดพบว่าการโคจรรอบดวงอาทิตย์หนึ่งรอบใช้เวลาประมาณ 6,767 ปี ค้นพบโดยกล้องโทรทรรศน์อวกาศไวส์ (Wide-field Infrared Survey Explorer: WISE) ซึ่งเป็น...
4 กรกฎาคม 2020

เตรียมตัว! เช้ามืด 8 ก.ค. ชวนชม ‘ดาวศุกร์สว่างที่สุด’ ครั้งสุดท้ายในปี 2563

ข้อมูลจากสถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ ระบุว่าวันที่ 8 กรกฎาคม 2563 ดาวศุกร์จะปรากฏสว่างที่สุดอีกครั้งเป็นครั้งสุดท้ายของปีนี้ สว่างเด่นเห็นชัดเจนด้วยตาเปล่าทางทิศตะวันออกบริเวณกลุ่มดาววัว ช่วงเช้ามืดตั้งแต่เวลาประมาณ 03.25 น. เป็นต้นไปจนถึงรุ่งเช้า   สำหรับดาวศุกร์เป็นดาวเคราะห์ที่สว่างที่สุดบนท้องฟ้า และเป็นดาวเคราะห์ในระบบสุริยะลำดับท...


Close Advertising