×

ดวงอาทิตย์

9 เมษายน 2024

ชมภาพสุริยุปราคาเต็มดวงแถบอเมริกาเหนือ NARIT คาด คนไทยได้ชมเดือนสิงหาคม 2027

ผู้คนจำนวนมากในแถบทวีปอเมริกาเหนือตั้งตารอชมปรากฏการณ์ ‘สุริยุปราคาเต็มดวง’ (Total Solar Eclipse) เมื่อวานนี้ (8 เมษายน) ซึ่งไม่สามารถสังเกตเห็นได้จากประเทศไทย    สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NARIT ระบุว่า แนวคราสเต็มดวงได้พาดผ่านบริเวณทวีปอเมริกาเหนือ บริเวณประเทศเม็กซิโก สหรัฐอเมริกา และแคนาดา เริ่มจากมหาสมุทร...
ดวงอาทิตย์​เทียม
11 กุมภาพันธ์ 2024

ดวงอาทิตย์​เทียม​ในอังกฤษ สร้างสถิติพลังงานนิวเคลียร์ฟิวชันครั้งใหม่ เทียบเท่าจ่ายพลังงาน​หล่อเลี้ยง​บ้าน 12,000 หลัง นาน 5 วินาที

เตาปฏิกรณ์​แบบหลอมรวมธาตุชนิดโทคาแมคในโครงการ ‘Joint European Torus (JET)’ ที่ศูนย์พลังงานฟิวชันคัลแฮม ในอ็อกซ์ฟอร์ดเชียร์ของอังกฤษ ทำลายสถิติด้านพลังงานนิวเคลียร์ฟิวชันครั้งใหม่ โดยสามารถสร้างพลัง​งานได้ถึง 69.26​ เมกะจูลจากมวลต้นทุนเพียง 0.21 มิลลิกรัม ทำลายสถิติ​ 59 เมกะจูลที่ทำได้ในปี 2022 ไปเรียบร้อย​   พลังงานจำนวนนี้เปรียบเทียบ​แล...
3 มกราคม 2024

โลกโคจรเข้าใกล้ดวงอาทิตย์ที่สุดในรอบปี 2024

วันนี้ (3 มกราคม) เวลา 07.38 น. โลกโคจรเข้าสู่จุด Perihelion หรือจุดใกล้สุดของวงโคจรรอบดวงอาทิตย์ในรอบปี 2024 ด้วยระยะห่างประมาณ 147,100,632 กิโลเมตร ระหว่างแกนกลางของโลกและดวงอาทิตย์   เนื่องจากโลกโคจรรอบดวงอาทิตย์เป็นวงรีเฉกเช่นวัตถุต่างๆ ในระบบสุริยะ ทำให้ในหนึ่งคาบการโคจรจะมีช่วงที่โลกเข้ามาใกล้ดวงอาทิตย์ที่สุด ซึ่งมักเกิดในช่วงต้นเด...
17 พฤศจิกายน 2023

NASA ยุติการสื่อสารกับยานบนดาวอังคาร 2 สัปดาห์ เนื่องจากอยู่ในตำแหน่งตรงข้ามกับดวงอาทิตย์

ระหว่างวันที่ 11-25 พฤศจิกายนนี้ ยานสำรวจทั้งในวงโคจรและบนพื้นผิวดาวอังคาร จะหยุดการติดต่อสื่อสารกับทีมภารกิจบนโลกของเรา จากปรากฏการณ์ ‘Mars Solar Conjunction’ ที่ดาวอังคารจะอยู่อีกฟากหนึ่งของระบบสุริยะเมื่อสังเกตจากโลก   NASA ออกมายืนยันว่าพวกเขาได้หยุดส่งคำสั่งไปยังยานอวกาศทั้งหมดบนดาวอังคารในช่วงนี้ ซึ่งเป็นเหตุการณ์ปกติที่เกิดขึ้นทุก...
ภารกิจสำรวจดวงอาทิตย์
2 กันยายน 2023

‘อาทิตยา’ ภารกิจสำรวจดวงอาทิตย์ครั้งแรกของอินเดีย

เพียงไม่กี่สัปดาห์หลังการลงจอดบนดวงจันทร์ได้สำเร็จเป็นครั้งแรก องค์การวิจัยอวกาศอินเดีย หรือ ISRO ได้ส่งอีกหนึ่งภารกิจขึ้นสู่อวกาศอีกครั้ง โดยรอบนี้มีเป้าหมายสำคัญคือ การศึกษาดวงอาทิตย์ ดาวฤกษ์หนึ่งเดียวในระบบสุริยะ   ยานลำนี้มีชื่อว่า ‘อาทิตยา-แอล 1’ ซึ่งคำว่า อาทิตยา มาจากภาษาสันสกฤตที่แปลว่าดวงอาทิตย์ และ L1 หมายถึงจุดลากรานจ์ที่ 1 ระ...
วันครีษมายัน
21 มิถุนายน 2023

วันครีษมายัน สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติเผย วันนี้กลางวันยาวที่สุดในรอบปี 12 ชั่วโมง 56 นาที

วันนี้ (21 มิถุนายน) สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (สดร.) เปิดเผยว่า วันนี้เป็นวันครีษมายัน (ครีด-สะ-มา-ยัน) (Summer Solstice) ซึ่งเป็นวันที่เวลากลางวันยาวที่สุดในรอบปี โดยดวงอาทิตย์จะขึ้นทางทิศตะวันออกเฉียงไปทางเหนือมากที่สุด และตกทางทิศตะวันตกเฉียงไปทางเหนือมากที่สุด จึงเป็นวันที่มีช่วงเวลากลางวันยาวที่สุด กลางคืนสั้นที่สุดของปี และนับเป็นวันที่ป...
9 พฤษภาคม 2023

นักวิจัย​พบดวงอาทิตย์​ในระบบดาวอื่นกลืนกินดาวเคราะห์​บริวารอย่างชัดเจน​เป็น​ครั้งแรก​ในวงการ​ดาราศาสตร์​

ดวงดาวแสนสวยที่กะพริบ​กันเต็มท้องฟ้า​ยามค่ำคืนที่มืดสนิทนั้น หากตัดดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ เช่น ดาวอังคาร ดาวพฤหัสบดี ดาวศุกร์ และดาวเสาร์ออกไปแล้ว ที่เหลือคือดาวฤกษ์ทั้งนั้น และที่สำคัญคือแทบไม่มีดาวฤกษ์ดวงไหนที่มองเห็นด้วยตาเปล่าจะมีขนาดจริงที่เล็กกว่าดวงอาทิตย์ของเราเลย   ที่เป็นแบบนั้นเพราะในความเป็นจริงแล้วดวงอาทิตย์ของเราแม้มีเส้นผ่...
วันไร้เงา ดวงอาทิตย์ตั้งฉาก
27 เมษายน 2023

‘วันไร้เงา’ ปรากฏการณ์ดวงอาทิตย์ตั้งฉากกรุงเทพฯ ครั้งแรกของปี 2566

วันนี้ (27 เมษายน) ทีมช่างภาพข่าว THE STANDARD ลงพื้นที่ย่านอโศก ถนนอโศกมนตรี ช่วงเวลาประมาณ 12.16 น. เพื่อเก็บภาพดวงอาทิตย์ตั้งฉากกรุงเทพมหานคร ครั้งแรกของปี 2566 ซึ่งปรากฏการณ์นี้จะทำให้วัตถุกลางแดดดูเสมือนไร้เงา เนื่องจากเงาจะตกอยู่ใต้วัตถุพอดี    ในช่วงเดือนเมษายน-พฤษภาคม ดวงอาทิตย์จะโคจรมาอยู่ในตำแหน่งตั้งฉากกับประเทศไทย เริ่มจ...
ดวงอาทิตย์เทียม
21 เมษายน 2023

‘ดวงอาทิตย์เทียม’ ของจีน ทำลายสถิติเดิมของตัวเอง โดยคงสภาพการเก็บกักพลาสมาได้นานเกือบ 7 นาที

เมื่อวันที่ 12 เมษายนที่ผ่านมา เตาปฏิกรณ์ฟิวชัน EAST ของจีน หรือที่รู้จักกันในสมญานาม ‘ดวงอาทิตย์เทียม’ สร้างสถิติใหม่ในการคงสภาพเก็บกักพลาสมาได้นานถึง 403 วินาที ขยับเข้าใกล้จุดหมายในเปิดการใช้งานจริงมากขึ้นเรื่อยๆ   ความสำเร็จครั้งนี้ถือเป็นก้าวกระโดดครั้งใหญ่จากสถิติเดิมที่ทำเอาไว้ 101 วินาทีเมื่อปี 2017 มาได้ค่อนข้างไกลเลยทีเดียว ท่า...
หลุมดำ
31 มีนาคม 2023

รู้จักหลุมดำขนาดใหญ่ที่สุดเท่าที่เคยค้นพบ มีมวลพอๆ กับดวงอาทิตย์ถึง 32,000 ล้าน​ดวง

ทีมนักวิทยาศาสตร์จากมหาวิทยาลัยเดอรัมในประเทศอังกฤษ นำโดย ดร.เจมส์ ไนติงเกล พบหลุมดำ ‘มวลมหาศาล’ ที่ถือได้ว่าใหญ่ที่สุดเท่าที่เคยพบมา ผ่านเทคนิคการสังเกตการบิดโค้งของแสงที่เรียกว่า ‘เลนส์ความโน้มถ่วง’   หลุมดำขนาดมโหฬารนี้แฝงตัวอยู่ในใจกลางกาแล็กซี Abell 1201 ห่างจากโลกของเราออกไปประมาณ 2,700 ล้านปีแสง มีมวลในระดับที่น่าตกใจ นั่นคือเกินร...


Close Advertising