×

จิตวิทยา

17 สิงหาคม 2017

ไขปริศนา ทำไมเราชอบเล่นควิซทายนิสัย แม้จะรู้ว่าไร้สาระ

     ‘คุณเป็นใครในทีมอเวนเจอร์ส’      ‘สถานที่ท่องเที่ยวสุดชิคที่ไหนที่เหมาะกับคุณ’      ‘ผู้เข้าแข่งขัน The Face Men Thailand คนไหนที่กำลังแอบชอบคุณอยู่’      คุณเคยเป็นไหม? เข้าหน้าวอลล์เฟซบุ๊กของใครต่อใครก็มักจะเจอผลควิซทายนิสัย ทายใจ แบ่งกลุ่มนั่นนี่เต็มไทม์ไลน์ไปหมด โดยเฉพาะอ...
3 สิงหาคม 2017

‘ตั้งชื่อให้ดูหน้า’ วิจัยยัน หน้ากับชื่อเข้ากัน คนชอบมากขึ้น

     คนบางคนอาจเคยถูกทักว่าชื่อไม่เข้ากับหน้าตาเอาเสียเลย งานวิจัยทางจิตวิทยาจากนิวซีแลนด์ที่มีชื่อว่า ‘ปรากฏการณ์บูบา/กิกีทางสังคม: อคติสำหรับคนที่ชื่อเข้ากับใบหน้า’ (A social Bouba/Kiki effect: A bias for people whose names match their faces) อาจช่วยไขข้อสงสัยนี้ได้      ก่อนอื่นต้องเข้าใจถึงปรากฏการณ์บูบา/กิกีเสี...
2 สิงหาคม 2017

ผลวิจัยพบ ‘คนฉลาด’ มีแนวโน้ม ‘เหมารวม’ คนอื่นมากกว่า

     หากพอจำได้ สามปีที่ผ่านมาไทยตกเป็นที่วิพากษ์วิจารณ์หลังมีคนหลายกลุ่มใช้ภาพหรือแต่งกายเลียนแบบฮิตเลอร์ ไม่เพียงเท่านั้น ยังรวมถึงเรื่องผิวสีนางงามที่อาจไม่ถูกใจใครหลายคนนัก ทำให้คนไทยรู้จักปัญหาการ PC หรือการเหมาะรวมมากขึ้น      ศัพท์ที่ว่าย่อมาจาก Political Correctness หรือความถูกต้องทางการเมือง ที่เชื่อมโยงต่อ...
31 กรกฎาคม 2017

เป็นสัตว์มีสิทธิไหมคร้าบ / คะ

  1      สิทธิของสัตว์ (Animal Rights) ไม่ใช่เรื่องถกเถียงทางสังคมหรือศีลธรรมเท่านั้นหรอกนะครับ      แต่มันยังเป็นประเด็นถกเถียงทางวิทยาศาสตร์ด้วย!      คำถามสำคัญก็คือ สัตว์คิดเป็น มีอารมณ์ความรู้สึก และมี ‘สำนึกรู้ตัว’ ว่าพวกมันมีชีวิตอยู่หรือเปล่า      มนุษย์มักจะคิดว่าส...
20 กรกฎาคม 2017

ก้าวต่อไปอย่าได้แคร์! วิธีรับมือและเยียวยาอาการ ‘อกหัก’ จากมืออาชีพ

     เรามักได้ยินกันอยู่เสมอว่า ‘เวลาจะช่วยเยียวยาจิตใจ’ แต่ถ้าเราต้องเผชิญกับความโศกเศร้าเจ็บปวดอันเนื่องมาจากความรักและสัมพันธภาพที่มาถึงจุดสิ้นสุด การนั่งรอให้ ‘เวลา’ มาช่วยเยียวยาอย่างเดียวคงจะไม่เพียงพอแน่นอน เพราะโดยธรรมชาติแล้ว การยุติความสัมพันธ์กับคนรักนั้น ไม่ว่าความสัมพันธ์จะสั้นหรือยาวแค่ไหน ก็มักส่งผลให้เกิดความโศกเศร้าท...
14 กรกฎาคม 2017

Spotlight Effect ทฤษฎีจิตวิทยาที่ทำให้เราไม่ต้องนอยด์อีกต่อไป เมื่อเกิดเรื่องน่าอาย

     ตอนเด็กๆ ใครหลายคนอาจจะเคยใส่ชุดนักเรียนไปโรงเรียนในวันที่เพื่อนทั้งห้องใส่ชุดพละกันหมด หรืออาทิตย์ที่แล้วเดินสะดุดกลางออฟฟิศ จากนั้นก็อายเสียจนเก็บมาคิดตลอดวัน (หรือบางทีผ่านมาเป็นปีแล้ว นึกย้อนกลับไปถึงเหตุการณ์เหล่านั้นก็ยังน่าอายอยู่ดี) ทั้งหมดนี้เกิดขึ้นจากทฤษฎีทางจิตวิทยาที่มีชื่อว่า ‘Spotlight Effect’ หรือสถานการณ์เมื่อเร...
27 มิถุนายน 2017

แค่ไหนเรียก ‘ติดเซ็กซ์’

     ‘เซ็กซ์’ เป็นสิ่งน่ารื่นรมย์ และมีสิ่งมีชีวิตไม่กี่ชนิดบนโลกที่มีการเสพสมกันเพื่อความเพลิดเพลิน และมนุษย์ก็เป็นหนึ่งในนั้น การมีเพศสัมพันธ์นั้นถือเป็นเรื่องธรรมชาติ และหลายคนพบว่าเพลินจนสามารถเสพติดในกามารมณ์ได้ แต่ต้องชอบแค่ไหนถึงจะเรียกว่า ‘ติดเซ็กซ์’ กัน   ติดเซ็กซ์อย่างไรถือว่าผิดปกติ      การเสพ...
22 มิถุนายน 2017

ทำไมคนที่เคยต่อต้านรถไฟความเร็วสูงสมัยรัฐบาล ‘เพื่อไทย’ จึงไม่ออกมาค้าน ‘ลุงตู่’

     ไม่ทราบว่าคุณผู้อ่านกำลังสงสัยกันไหมครับ ว่าทำไมคนที่เคยออกมาต่อต้านการสร้างรถไฟความเร็วสูงในสมัยรัฐบาลที่เเล้ว จึงไม่ออกมาต่อต้านนโยบายเดียวกันที่กำลังถูกเสนอออกมาในครั้งนี้อีกครั้ง      คุณเคยได้ยินถึงชื่อเสียงของนักจิตวิทยาที่มีชื่อว่า ลีออน เฟสติงเจอร์ (Leon Festinger) ไหมครับ      ลีออน เฟสติ...
20 มิถุนายน 2017

รู้จักวิทยาศาสตร์การตัดสินใจที่อธิบายว่า ทำไมคุณมักเลือกคุยกับคนที่แต่งตัวดีเป็นอันดับแรก?

     เคยสงสัยตัวเองไหม ทำไมเราถึงมักจะเลือกทักเพื่อนใหม่ในงานปาร์ตี้ที่แต่งกายดี ดูภูมิฐาน มากกว่าอีกคนที่แต่งตัวไม่เรียบร้อย หนวดเครารุงรัง      อย่าเพิ่งด่วนสรุปจนพานคิดว่าตัวเองเป็นพวกเหยียดชนชั้นหรือมองคนแค่รูปลักษณ์ภายนอก เพราะ แครธริน ทรงพัฒนะโยธิน ผู้เชี่ยวชาญด้านวิทยาศาสตร์ในการตัดสินใจ (Cognitive ...
14 มิถุนายน 2017

อยากเด่นและชอบทับถมคนอื่น! คู่มือเอาตัวรอดจากเจ้านายและเพื่อนร่วมงานที่เป็น ‘โรคคลั่งไคล้ตัวเอง’

     ถ้าหากคุณเป็นคนหนึ่งที่ต้องอยู่ร่วม หรือทำงานร่วมกับบุคคลที่ชอบทำตัวเป็นจุดเด่น ชอบทับถมผู้อื่น  โปรดปรานคำสรรเสริญเยินยอ มักจะแสดงความโกรธหรือความเศร้าอย่างมากเมื่อได้รับคำวิจารณ์ในแง่ลบ มีความเชื่อผิดๆ ว่าตนเองเก่งที่สุด ชอบที่จะมีอำนาจ และมักจะใช้ประโยชน์ให้ผู้อื่นทำงานให้      ดิฉันอยากให้คุณลองมองย้อ...


Close Advertising
X