×

SUSTAIN UPDATE

20 มีนาคม 2023

การเมืองเรื่องน้ำมันชายฝั่งอาร์กติก เมื่อไบเดนเห็นด้วยกับทรัมป์ในโครงการวิลโลว์เจ้าปัญหา

ในรอบสัปดาห์ที่ผ่านมา โจ ไบเดน ได้ให้ไฟเขียวกับโครงการขุดเจาะน้ำมันที่ชายฝั่งอาร์กติกทางตอนเหนือของมลรัฐอะแลสกาที่มีชื่อว่า ‘โครงการวิลโลว์’ ซึ่งการอนุมัติโครงการนี้ได้สร้างความโกรธแค้นให้กับฐานเสียงของพรรคเดโมแครตอย่างมาก เพราะนี่เป็นการผิดสัญญาของไบเดนที่เคยให้ไว้ในช่วงหาเสียงเลือกตั้งว่า เขาจะไม่อนุมัติโครงการขุดเจาะน้ำมันใหม่ในที่ดินสาธารณะอีก ...
ยอดผู้เสียชีวิตจากไซโคลนเฟรดดี
20 มีนาคม 2023

ยอดเสียชีวิตจากไซโคลนเฟรดดีพุ่งเหนือ 500 คน นักวิทย์ชี้โลกรวนทำพายุรุนแรงขึ้น

รายงานจากมาลาวี โมซัมบิก และมาดากัสการ์ ระบุว่า ยอดผู้เสียชีวิตจากไซโคลนเฟรดดีรวม 3 ประเทศ ทะยานขึ้นแตะที่ 522 คนแล้ว    สำหรับมาลาวีซึ่งเป็นประเทศที่ได้รับผลกระทบหนักสุดนั้น ยอดผู้เสียชีวิตที่มีการรายงาน ณ วันเสาร์ (18 มีนาคม) อยู่ที่ 438 คน โดยทางการได้ประกาศไว้อาลัยทั่วประเทศเป็นเวลา 14 วันนับตั้งแต่วันพฤหัสบดีที่ผ่านมา (16 มีนาค...
15 มีนาคม 2023

วิจัยเผยมลพิษทางอากาศกระทบต่อการสืบพันธุ์ของแมลงวันผลไม้ เหตุทำตัวผู้ปล่อยฟีโรโมนได้น้อยลง

ผลการวิจัยล่าสุดเปิดเผยว่า มลพิษทางอากาศเป็นอุปสรรคสำคัญต่อการสืบพันธุ์ของแมลงวันผลไม้ เนื่องจากทำให้แมลงวันตัวผู้ปล่อยฟีโรโมนออกมาได้น้อยลงจนตัวเมียแทบไม่ได้กลิ่นของพวกมัน   โดยปกติแล้วแมลงวันผลไม้ตัวเมียจะเลือกคู่ของมันเพื่อสืบพันธุ์ผ่านกลิ่นฟีโรโมนที่ตัวผู้ปล่อยออกมา แต่มลพิษทางอากาศเป็นปัจจัยที่รบกวนความสามารถในการปล่อยกลิ่นของตัวผู้...
โครงการวิลโลว์
14 มีนาคม 2023

โครงการวิลโลว์คืออะไร ทำไมจึงถูกต่อต้านจากนักสิ่งแวดล้อม

รัฐบาลสหรัฐอเมริกาภายใต้การนำของประธานาธิบดีโจ ไบเดน ได้รับเสียงวิพากษ์วิจารณ์อย่างหนัก หลังจากที่ตัดสินใจอนุมัติ ‘โครงการวิลโลว์’ (Willow Project) ให้เดินหน้าต่อไปได้ เมื่อวานนี้ (13 มีนาคม) ส่งผลให้ไบเดนต้องเผชิญกับกระแสต่อต้านจากบรรดานักเคลื่อนไหวด้านสิ่งแวดล้อมจำนวนไม่น้อยทั้งในโลกออฟไลน์และออนไลน์   โครงการวิลโลว์คืออะไร   วิ...
แอมะซอน
12 มีนาคม 2023

ปัญหาการตัดไม้ทำลายป่าในแอมะซอนพุ่งสูงขึ้น สร้างความท้าทายให้รัฐบาลบราซิลชุดใหม่อย่างมาก

ปัญหาการตัดไม้ทำลายป่าในแอมะซอนทำสถิติพุ่งสูงขึ้นอีกครั้งในเดือนกุมภาพันธ์ที่ผ่านมา สร้างความท้าทายให้กับรัฐบาลบราซิลชุดใหม่ภายใต้การนำของประธานาธิบดีลูอิส อินาซิโอ ลูลา ดา ซิลวา เป็นอย่างมาก   ข้อมูลจากหน่วยงานด้านอวกาศแห่งชาติบราซิลอย่าง INPE เผยว่า มีพื้นที่ป่าในแอมะซอน 322 ตารางกิโลเมตร ถูกบุกรุกและทำลายลงในช่วงเดือนกุมภาพันธ์ที่ผ่าน...
11 มีนาคม 2023

EU เห็นพ้องผลักดันทั่วโลกเลิกใช้เชื้อเพลิงฟอสซิล เตรียมพร้อมก่อนการประชุม COP28 ปลายปีนี้

ประเทศในสหภาพยุโรป (EU) ตกลงที่จะสนับสนุนการยุติการใช้เชื้อเพลิงฟอสซิลทั่วโลก ก่อนการประชุมสุดยอด COP28 ขององค์การสหประชาชาติจะเปิดฉากในปลายปีนี้ สะท้อนความพยายามของกลุ่มที่จะส่งเสริมการบรรลุข้อตกลงระดับโลก หลังล้มเหลวในการประชุมสุดยอดปีที่แล้ว   รัฐมนตรีจาก 27 ประเทศสมาชิกสหภาพยุโรป อนุมัติข้อความเกี่ยวกับลำดับความสำคัญทางการทูตก่อนการป...
10 มีนาคม 2023

รายงานล่าสุดเผย น้ำแข็งขั้วโลกใต้หดตัวลงอย่างมากเป็นประวัติการณ์ เนื่องจากภาวะโลกร้อน

รายงานด้านสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อมฉบับล่าสุดโดย EU Monitor เผยว่า ขอบเขตการปกคลุมของแผ่นน้ำแข็งบริเวณแอนตาร์กติกหรือขั้วโลกใต้หดตัวลงอย่างมากเป็นประวัติการณ์ ทำลายสถิติล่าสุดที่เคยบันทึกไว้เมื่อปี 2017 อันเป็นผลมาจากภาวะโลกร้อนและการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศโลก   โดยทีมงาน Copernicus Climate Change Service (C3S) ระบุว่า แผ่นนำ้แข็งบ...
พลาสติก มหาสมุทร
9 มีนาคม 2023

งานศึกษาเผย ตรวจพบอนุภาคพลาสติกกว่า 170 ล้านล้านชิ้นในมหาสมุทร หลังมลพิษพุ่งสูงขึ้นเป็นประวัติการณ์

ผลงานศึกษาล่าสุดจากทีมนักวิทยาศาสตร์นานาชาติเผยว่า ปัจจุบันมหาสมุทรหลายแห่งทั่วโลกกำลังประสบปัญหา ‘หมอกควันพลาสติก’ (Plastic Smog) ซึ่งเกิดจากพลาสติกที่แตกตัวเป็นอนุภาคขนาดเล็กประมาณ 171 ล้านล้านชิ้น และหากรวมตัวกันแล้วอาจมีน้ำหนักอยู่ที่ประมาณ 2.3 ล้านตัน    โดยทีมนักวิทยาศาสตร์ได้รวบรวมข้อมูลจากทั่วโลกช่วงปี 1979-2019 จากจุดสุ่มตั...
7 มีนาคม 2023

นานาชาติร่วมลงนามสนธิสัญญาทะเลหลวงครั้งประวัติศาสตร์ เพื่อปกป้องความหลากหลายทางชีวภาพ

นานาชาติเกือบ 200 ประเทศร่วมลงนามข้อตกลงทำสนธิสัญญาทะเลหลวง (High Seas Treaty) ซึ่งมีผลผูกพันทางกฎหมาย เพื่อปกป้องสิ่งมีชีวิตในเขตน่านน้ำสากล โดยข้อตกลงดังกล่าวได้รับการลงนามเมื่อวันที่ 4 มีนาคมที่ผ่านมา หลังจากการเจรจานานกว่า 2 สัปดาห์ที่สำนักงานใหญ่ขององค์การสหประชาชาติ (UN) ในมหานครนิวยอร์ก สหรัฐอเมริกา สิ้นสุดลง โดยการประชุมในเซสชันสุดท้ายใช้เว...
7 มีนาคม 2023

งานศึกษาล่าสุดชี้ การผลิตเนื้อสัตว์ นม และข้าว มีส่วนทำลายเป้าหมายที่จะไม่ให้อุณหภูมิโลกเพิ่มสูงเกิน 1.5 องศาเซลเซียส

งานศึกษาล่าสุดชี้ว่า การผลิตอาหารอย่างเนื้อสัตว์ นม และข้าว ดั่งเช่นในปัจจุบัน มีส่วนทำลายเป้าหมายที่จะควบคุมไม่ให้อุณหภูมิเฉลี่ยโลกเพิ่มสูงเกิน 1.5 องศาเซลเซียส ถ้าหากไม่มีการจัดการกับการผลิตอาหารที่เกี่ยวพันกับก๊าซมีเทนเหล่านี้   งานศึกษาชิ้นนี้วิเคราะห์และประเมินว่า ถ้าหากการปล่อยก๊าซเรือนกระจกที่เกี่ยวพันกับระบบการผลิตอาหารดั่งเช่นทุ...


Close Advertising
X