×

RUOK

25 สิงหาคม 2020

ใช้มือถือ ≠ เล่นมือถือ สร้างความเข้าใจอย่างไรถ้ารู้สึกว่าลูกใช้เวลากับมือถือมากเกินไป

“เล่นมือถืออีกแล้ว”   เด็กๆ หลายคนอาจเคยถูกผู้ปกครองดุ ทั้งๆ ที่เพิ่งหยิบมือถือขึ้นมา หรือไม่ก็รู้สึกว่าไม่ได้เล่น แต่คุยกับเพื่อนเรื่องงานอยู่ต่างหาก   R U OK เอพิโสดนี้ชวนตัวแทนคุณพ่อมาแชร์ปัญหาที่หลายครอบครัวพบเจอ เรื่องความไม่เข้าใจกันในการใช้เวลาในการเล่นมือถือ พ่อแม่จะเข้าไปสอดส่องแค่ไหน จะเว้นระยะและให้เกียรติลูกอย่างไร...
20 สิงหาคม 2020

จากโครงสร้างอำนาจนิยม ทำอย่างไรที่จะหยุดการใช้ความรุนแรงในโรงเรียน

จากเอพิโสดที่แล้ว R U OK คุยกันให้เห็นภาพครูใช้ความรุนแรงกับนักเรียน มาถึงเอพิโสดนี้ที่ครูก็อยากพูดความในใจจากการถูกบูลลี่ เพื่อนำมาสู่การเห็นโครงสร้างอำนาจนิยมในโรงเรียนและหยุดการใช้ความรุนแรงในที่สุด       สามารถฟังพอดแคสต์ R U OK ผ่านแอปพลิเคชันต่างๆ ที่คุณสะดวกหรือใช้อยู่แล้วได้เลย   ...
17 สิงหาคม 2020

SOGIESC หลักการเข้าใจเพศกำเนิด เพศสภาพ และเพศที่อยากให้คนอื่นรับรู้

ช่วงวัยเรียน นักเรียนกลุ่มหนึ่งที่มีโอกาสถูกบูลลี่มากเป็นอันดับต้นๆ คือกลุ่มเพศหลากหลาย เนื่องจากความไม่เข้าใจและไม่เคารพในความแตกต่าง ทั้งที่ในช่วงวัยนั้นคือการตามหาเอกลักษณ์และความรับรู้ทางเพศ และบางคนอาจดำเนิน เลื่อนไหลไปทั้งชีวิต   R U OK ชวน กรองแก้ว ปัญจมหาพร ผู้เชี่ยวชาญงานส่งเสริมความเสมอภาคทางเพศ ชี้ให้เห็นว่าโลกนี้ไม่ได้มีแค่เพ...
13 สิงหาคม 2020

เอ็นดู หวังดี ไม่ตั้งใจ ครูอาจบูลลี่นักเรียนได้โดยไม่รู้ตัว

การบูลลี่เกิดขึ้นเพราะโครงสร้างทางอำนาจที่ครอบอยู่ในหลายหน่วยของสังคม โดยเฉพาะในรั้วโรงเรียน โครงสร้างทำให้คนกลุ่มหนึ่งมีอำนาจเหนือกว่าคนอีกกลุ่ม หลายครั้งการบูลลี่จึงเกิดขึ้น   R U OK ไม่ได้ต้องการชี้เป้าว่าใครเป็นคนผิด แต่อยากชวนร่วมกันแสดงความคิดเห็นว่าความรุนแรงที่เกิดขึ้นในรั้วโรงเรียนหลายครั้งเกิดขึ้นเพราะ ‘คุณครู’ ผู้ถืออำนาจและอา...
10 สิงหาคม 2020

ฟังตำรวจผู้ทำคดีล่วงละเมิดทางเพศ และหากถูกแบล็กเมลควรทำอย่างไร

พื้นที่โซเชียลมีเดียนอกจากใช้ติดต่อสื่อสารแล้ว ยังเป็นพื้นที่สีเทาหมิ่นเหม่ที่เต็มไปด้วยคนแปลกหน้าที่ไม่รู้จุดประสงค์ บางครั้งคือการล่อลวงที่เราต้องรู้เท่าทัน   R U OK ชวน พ.ต.อ. มรกต แสงสระคู ผู้เชี่ยวชาญเรื่องการล่วงละเมิดทางเพศเด็กและวัยรุ่นในพื้นที่โซเชียลมีเดีย ว่าเราควรสอดส่องระมัดระวังการถูกล่วงละเมิดทางเพศอย่างไร ผู้กระทำมีขั้นตอ...
6 สิงหาคม 2020

ถูกเพื่อนแบน การบูลลี่ทางสังคมที่หลายคนอาจมองข้าม

การโดนแบน อาจเป็นเหมือนเรื่องธรรมดาในโรงเรียนมัธยมฯ แต่แท้จริงแล้วคือส่วนหนึ่งของความรุนแรง และคือการบูลลี่ทางสังคมที่มีลักษณะไม่นับรวมกลุ่ม กันออก รวมถึงการแบน   R U OK ชวนทวิตเตอร์ ‘นักเรียนเลว’ และ ผศ.อรรถพล อนันตวรสกุล มาแลกเปลี่ยนสภาพจริงที่นักเรียนมัธยมฯ ต้องพบเจอ พร้อมทั้งช่วยกันหาทางออกในสายตาของทั้งนักเรียนและครู ว่าจะทำอย่างไรใ...
3 สิงหาคม 2020

ใช้โซเชียลมีเดียอย่างไรให้ใจแข็งแรงและมีวิจารณญาณ

ทุกวันนี้เราเสพข่าวผ่านโซเชียลมีเดียเป็นหลัก หลายครั้งข่าวก็พาเราใจฟู และบางครั้งก็พาดิ่งให้หดหู่เนื่องจากการเสพข่าวที่มากเกินไป จนเกิดคำถามว่าอารมณ์เราต้องขึ้นลงตามการเสพข่าวอย่างนี้ต่อไปหรือ?   R U OK ชวน ธนกร วงษ์ปัญญา Content Creator การเมือง ประจำสำนักข่าว THE STANDARD มาช่วยแยก Fake News ออกจากข่าวจริง การเสพข่าวอย่างมีวิจารณญาณ หร...
30 กรกฎาคม 2020

ทำความเข้าใจโครงสร้างอำนาจในสังคมไทย ทำไมมีผลต่อการบูลลี่

R U OK คุยกับ ผศ.อรรถพล อนันตวรสกุล อาจารย์จากคณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เพื่อทำความเข้าใจโครงสร้างของครอบครัว การเรียนการสอนในโรงเรียน ระบบอาวุโสในมหาวิทยาลัย และโลกการทำงาน ที่มีลำดับชั้นอำนาจ ซึ่งอาจทำให้เห็นความเป็นไปของการบูลลี่ในสังคมไทยได้ชัดเจนขึ้น       สามารถฟังพอดแคสต์ R U OK ผ่านแอปพลิเคชันต่างๆ ท...
28 กรกฎาคม 2020

Bystander บุคคลสำคัญที่หลายคนมองข้ามเมื่อเกิดการบูลลี่

เมื่อเกิดการบูลลี่ หลายคนจะมองเห็นแค่ผู้กระทำและเหยื่อ แต่เมื่อมองดีๆ ทุกเหตุการณ์จะมีคนที่อยู่รายรอบและมักวางเฉย R U OK เอพิโสดนี้ ดุจดาว วัฒนปกรณ์ คุยกับ นรพันธ์ ทองเชื่อม นักจิตวิทยาผู้เชี่ยวชาญด้านเด็กและวัยรุ่นว่า ‘Bystander’ หรือ ‘พยานแวดล้อม’ มีผลอย่างไรกับการบูลลี่ ทั้งๆ ที่พวกเขาเหล่านั้นคือคนจำนวนมากที่อยู่ในเหตุการณ์ ซึ่งน่าจะคือกลุ่ม...
23 กรกฎาคม 2020

จะรับมือกับการถูกบูลลี่อย่างไร เพราะมนุษย์ทุกคนมีความรู้สึก

เราคุ้นเคยกับวลีว่า ‘ศิลปินดาราเป็นคนของประชาชน’ เลยรู้สึกว่าเป็นความชอบธรรมที่วิพากษ์วิจารณ์บุคคลที่อยู่ในที่แจ้งได้ โดยลืมไปว่าอีกฝ่ายก็คือมนุษย์ที่มีชีวิตจิตใจ   R U OK ชวน ป๊อบ ปองกูล, โอ๊ต ปราโมทย์ และ ลุลา มาร่วมแชร์ประสบการณ์การถูกบูลลี่ว่าเจอมาในรูปแบบไหน รับมือกับคอมเมนต์ที่มาทุกทิศทุกทางอย่างไร และมีถ้อยคำแทนใจที่อยากสื่อสารก่อ...


Close Advertising