×

จิตวิทยา

7 ธันวาคม 2018

เบื้องหลังคนดราม่าเล่นใหญ่ จริงๆ คือความรู้สึกแบบไหน แล้วจะสื่อสารอย่างไรให้เข้าใจกัน

ดราม่าอาจเป็นสิ่งที่ใครหลายคนชอบเสพ แต่เมื่อเจอคนรอบตัวที่เล่นใหญ่ใส่จริงๆ อาจกลับรู้สึกอึดอัด ไม่เข้าใจ จนวางตัวไม่ถูกว่าจะจัดการอย่างไรให้คลี่คลาย   R U OK เอพิโสดนี้เลยมาทำความเข้าใจพฤติกรรมที่ใครหลายคนบอกว่าแสนจะดราม่า ว่าเบื้องหลังแอ็กชันเหล่านั้นเขากำลังรู้สึกอย่างไร ทำไมถึงแสดงใหญ่ สาเหตุมาจากไหน และจะบอกความต้องการอย่างไรให้ไม่เห...
4 ธันวาคม 2018

ตอบปัญหาคาใจ: เหม่อลอยบ่อยๆ เป็นอะไรไหม? หน้าดุควรแก้อย่างไร? เพื่อนมีเสียงในหัวให้ไปทำร้ายคนอื่น ช่วยอย่างไรดี?

ตลอดระยะเวลาการทำพอดแคสต์ R U OK มักมีฟีดแบ็กและคำถามต่างๆ ส่วนใหญ่เป็นประสบการณ์ตรงที่เกิดกับตัวเองและคนรอบข้าง เชิงคำถามว่าพฤติกรรมเหล่านี้ปกติไหม และจุดไหนที่ควรไปหาหมอ   ในโอกาสที่เดินทางมาถึงเอพิโสดที่ 50 เราขอเลือก 3 คำถามที่น่าสนใจมาตอบในรายการ เผื่อผู้ฟังคนไหนเจอเหตุการณ์ที่ใกล้เคียง จะได้นำไปปรับใช้กับตัวเอง   &nb...
30 พฤศจิกายน 2018

ทำไมบางคนตัวตนในอินเทอร์เน็ตไม่เหมือนที่เรารู้จัก แล้วแบบไหนคือตัวตนจริงๆ

หลายครั้งที่พบว่าคนที่เรามีปฏิสัมพันธ์ด้วย กับในโซเชียลมีเดียเหมือนเป็นคนละคนกัน บางคนเรียบร้อยแต่ในเฟซบุ๊กกลับเกรี้ยวกราด บางคนชอบโชว์หวิวในโลกเสมือน หรือบางคนมีแอ็กเคานต์ลับไว้คุยเรื่องเพศโดยเฉพาะ จนชวนสงสัยว่าจริงๆ แล้วคนตรงหน้าเป็นอย่างไรกันแน่ R U OK เอพิโสดนี้เลยชวนสำรวจตัวตนในโซเชียลมีเดีย ที่บางครั้งแสดงออกเรื่องเพศอย่างโจ่งแจ้ง พฤติกรรม...
27 พฤศจิกายน 2018

คิดต่างกับขวางโลกเหมือนกันไหม แล้วแสดงความคิดเห็นอย่างไรให้ไม่ปะทะกัน

โลกทุกวันนี้เป็นโลกของการแสดงความคิดเห็น แต่มนุษย์แต่ละคนนั้นมีประสบการณ์ไม่เหมือนกัน ความเห็นต่อสิ่งต่างๆ ย่อมไม่มีทางเหมือนกัน บางคนคล้อยตาม บางคนคิดนอกกรอบ บางคนคิดต่าง บางคนขวางโลก   R U OK เอพิโสดนี้เลยชวนกันแสดงความเห็นว่า คิดต่างกับขวางโลกนั้นเหมือนหรือต่างกันอย่างไร ในทางจิตวิทยาบุคลิกภาพแบบขวางโลกเป็นแบบไหน และจะแสดงความคิดเห็นอ...
23 พฤศจิกายน 2018

มโนบ่อยๆ ถือว่าผิดปกติไหม แล้วมโนหนักแค่ไหนต้องได้รับความช่วยเหลือ

จิ้นว่าได้เป็นแฟนกับคนที่ชอบ ฝันกลางวันว่าถูกหวยแล้วจะเอาเงินไปทำอะไร   คนเรามีสิทธิ์คิดฝัน หรือที่ทุกวันนี้เรียกกันว่า ‘มโน’ ได้ทั้งนั้น แต่ดีกรีของการมโนนั้นก็เป็นเรื่องน่าสนใจ เพราะบางคนแยกแยะเรื่องจริงกับเรื่องมโนได้ แต่บางคนกลับเชื่อว่าเป็นสิ่งเดียวกัน R U OK เอพิโสดนี้จะพาไปสำรวจความมโนว่าแบบไหนที่เฮลตี้ แล้วถ้าเรื่องมโนกับเรื่องจร...
16 พฤศจิกายน 2018

เก็บของไว้จนล้นบ้านจะเป็นโรคชอบสะสมของไหม เหมือนหรือต่างอย่างไรกับนักสะสม

พฤติกรรมเก็บของจนบ้านรก แถมของที่ใช้ไม่ได้ก็ไม่ยอมทิ้งจนหลายคนอาจสงสัยว่าตัวเองมีอาการชอบสะสมของ หรือ Hoarding Disorder ไหม R U OK เอพิโสดนี้เลยพาไปทำความเข้าใจว่าเก็บแค่ไหนถึงจะป่วยเป็นโรค เหมือนหรือต่างกับนักสะสมอย่างไร และเขาเหล่านั้นรู้สึกอย่างไรทำไมถึงไม่ยอมทิ้ง     Credits The Hosts ปอนด์ ยาคอปเซ่น, ดุจดาว วัฒนปกรณ์ ...
13 พฤศจิกายน 2018

แพนิก (Panic) คืออาการกลัวรุนแรงแค่ไหน เหมือนหรือต่างอย่างไรกับความกลัวธรรมดา

เราพูดถึงอาการกลัวว่าแพนิก (Panic) กันจนชิน แต่รู้ไหมว่ามันแตกต่างกับความกลัว (Fear) และโรคกลัว (Phobia) อย่างไร R U OK เอพิโสดนี้ ปอนด์ ยาคอปเซ่น โฮสต์ประจำรายการจะมาเล่าประสบการณ์ตรงว่า Panic คืออาการตกใจกลัวรุนแรงแค่ไหน เกิดขึ้นจากอะไร เกิดซ้ำได้ทุกเวลาจริงหรือไม่ และเราจะหาตัวช่วยอย่างไรให้อาการดีขึ้น     Credits Th...
9 พฤศจิกายน 2018

“รักตัวเองก่อนจะไปรักใคร” คือเรื่องจริงไหม และเติมเต็มตัวเองอย่างไรให้ใจมีความสุข

“ต้องรักตัวเองก่อนจะไปรักใคร” ประโยคแสนคลิเช่ที่ได้ยินกันมานับครั้งไม่ถ้วน บางคนเข้าใจ แต่ก็มีหลายคนนึกไม่ออกแถมไม่เชื่อ แต่สำหรับ ดุจดาว วัฒนปกรณ์ นักจิตบำบัดจากพอดแคสต์ R U OK เชื่อว่าเราควรเริ่มต้นจากการรักตัวเองจริงๆ   R U OK พอดแคสต์จึงชวนทำความเข้าใจประโยคแสนธรรมดาว่าการรักตัวเองคืออะไร สามารถทำได้ด้วยวิธีไหน เพื่อสุดท้ายเราจะสามาร...
6 พฤศจิกายน 2018

อาการหวงเพื่อนเกิดจากอะไร และถ้าเกิดความรู้สึกน้อยใจจะรับมืออย่างไรดี

อาการหวงเกิดได้ทั้งกับสิ่งของ คน และความสัมพันธ์ แต่บางคนหวงเพื่อน ไม่อยากให้เพื่อนไปสนิทกับใคร หรือบางครั้งก็รู้สึกน้อยใจที่เพื่อนเห็นความสำคัญของเราลดลง   R U OK เอพิโสดนี้จึงชวนมาหาสาเหตุว่าความหวงที่ไม่ได้เกี่ยวข้องกับเรื่องชู้สาวทำไมถึงเกิดกับเพื่อน เบื้องหลังความรู้สึกหวงที่ว่านี้คืออะไร และจะชวนสะกิดอาการน้อยใจ ว่าควรรับมือกับความ...
2 พฤศจิกายน 2018

เห็นแก่ตัว VS รักตัวเอง เหมือนหรือต่างกันอย่างไร และจะทำอย่างไรถ้าอยู่กับคนที่ยึดความต้องการตัวเองเป็นหลัก

ความรักตัวเองเป็นสิ่งพื้นฐานที่มนุษย์ทุกคนพึงมี แต่ในขณะเดียวกันเมื่อเราต้องเข้าสังคมและมีปฏิสัมพันธ์กับคนอื่น ความรักและความต้องการของเรา อาจต้องยืดหยุ่นหรือลดลง เพื่อให้เราใช้ชีวิตร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข   R U OK เอพิโสดนี้จึงมาชวนคุยเรื่องความรักตัวเอง ที่บางครั้งดูทับซ้อนกับความเห็นแก่ตัว ว่าจริงๆ แล้วเหมือนหรือต่างกันอย่างไร...


Close Advertising
X