×

ความสัมพันธ์

Parental Favoritism
17 กันยายน 2021

Parental Favoritism | ทำไมพ่อแม่รักลูกไม่เท่ากัน? แล้วมันโอเคไหม

พ่อแม่ก็ควรจะรักลูกเท่ากันสิ แต่ทำไมแม่ดูรักพี่ชายจังเลย ส่วนพ่อก็ดูจะดูแล ถนุถนอมน้องสาวเป็นพิเศษ แล้วทำไมไม่มีใครสนใจเราบ้างเลย!    แม้ว่าเราจะพยายามทำตัวเป็นที่รักและเป็นลูกที่ดีมากแค่ไหนก็ตาม พ่อแม่ก็ยังเอียงเอนความสนใจไปที่พี่น้องเรามากกว่า    คำนี้ดีเอพิโสดนี้จะทำให้คุณเข้าใจพ่อแม่มากขึ้นและอาจมองความรักความเอา...
พอดแคสต์ R U OK
29 พฤศจิกายน 2019

ทำไมเหนื่อยล้าต้องเดินเข้าป่า เพราะธรรมชาติบำบัดจิตใจเราได้จริงๆ

เอพิโสดสุดท้ายในซีรีส์ความสัมพันธ์ว่าด้วยเรื่องความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับธรรมชาติ เลยชวนยูทูเบอร์ที่ได้รับฉายาว่า ‘สายเขียว’ อย่าง ฟ้า-ษริกา สารทศิลป์ศุภา มาคุยกันอีกครั้ง ถึงการใช้ชีวิตใกล้ชิดธรรมชาติ พร้อมแลกเปลี่ยนประสบการณ์ธรรมชาติบำบัด และบำบัดให้ธรรมชาติของ ดุจดาว วัฒนปกรณ์ ที่ดำน้ำตัดอวน เพื่อรักษาปะการัง เพราะจิตใจเราเชื่อมโยงกับธรรมชาติ ...
พอดแคสต์ R U OK
25 พฤศจิกายน 2019

ในมุมวิทยาศาสตร์ ร่างกายและจิตใจทำงานอย่างไรขณะมีเซ็กซ์

เมื่อพูดถึงชีวิตคู่ สิ่งหนึ่งที่เหมือนจะแยกขาดจากกันไม่ได้คือเรื่อง ‘เซ็กซ์’ หรือ เพศสัมพันธ์ R U OK ชวน นพ.ปีย์​ เชษฐ์โชติศักดิ์ เล่าเรื่องเพศสัมพันธ์ผ่านมุมมองของวิทยาศาสตร์ ที่สะท้อนผ่านร่างกาย จิตใจ และความสัมพันธ์    เซ็กซ์จำเป็นสำหรับชีวิตคู่ไหม เซ็กซ์สะท้อนความสัมพันธ์ที่ดำเนินไปอย่างไร และจะสื่อสารอย่างไรเมื่อความต้องการไม่ต...
21 พฤศจิกายน 2019

คลี่ชีวิต 24 ชั่วโมง หาที่มาของอาการนอนไม่หลับ พร้อมเทคนิคการเคลียร์ขยะใจ

แม้เราจะรู้ว่าการนอนเป็นเรื่องสำคัญ เวลา 1 ใน 3 ของชีวิตหมดไปกับการนอน แต่เรายังเจออาการนอนไม่หลับได้เสมอ บางครั้งก็หลับไม่เต็มอิ่ม ตื่นมาก็ยังง่วง บางครั้งก็หลับตื้นๆ โดยที่หาสาเหตุไม่เจอ   R U OK ชวน พญ.ทานตะวัน อวิรุทธ์วรกุล แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านการรักษาโรคนอนไม่หลับ มาคลี่ชีวิตและพฤติกรรมของเราทั้ง 24 ชั่วโมง เพื่อให้เห็นที่มาของการน...
18 พฤศจิกายน 2019

ทฤษฎีวิวัฒนาการและการตอบคำถามว่าทำไมมนุษย์ไม่สบายใจเวลาอยู่กับคนแปลกหน้า

นอกจากเรื่องความรัก วิทยาศาสตร์ก็สามารถตอบคำถามหลายอย่างเกี่ยวกับความสัมพันธ์ของมนุษย์ โดยเฉพาะความรู้สึกไม่สบายใจเมื่อต้องเข้าสังคมใหม่หรือต้องผูกสัมพันธ์กับคนแปลกหน้า   R U OK ชวน นพ.ปีย์ เชษฐ์โชติศักดิ์ มามองความสัมพันธ์ด้วยทฤษฎีวิวัฒนาการ ว่าอาการประหม่าของมนุษย์เมื่อเจอคนแปลกหน้าเป็นธรรมชาติหรือถูกพัฒนามาอย่างไร และเราจะเริ่มต้นผูกม...
พอดแคสต์ R U OK
14 พฤศจิกายน 2019

เปิดหู เปิดใจ ทะเลาะกันอย่างไรให้เข้าใจกันมากขึ้น

ในความสัมพันธ์ชีวิตคู่คงหลีกเลี่ยงไม่ได้ที่จะมีความเห็นไม่ตรงกัน จนเกิดการทะเลาะขึ้น แต่นั่นไม่สำคัญเท่ากับว่าปลายทางของการทะเลาะคืออะไร   R U OK ชวน นพ.ปีย์ เชษฐ์โชติศักดิ์​ เจ้าของเพจ Therory of Love มาคุยถึงเรื่องที่ต้องเกิดขึ้นในชีวิตคู่อย่างการทะเลาะ ว่ามีข้อห้ามอะไรบ้าง และมีวิธีไหมที่ทะเลาะกันแล้วจะนำพาไปสู่ความเข้าใจที่มากขึ้นกว่...
พอดแคสต์ R U OK
12 พฤศจิกายน 2019

จากตกหลุมรักจนถึงหมดโปรโมชัน เมื่อความรักอธิบายได้ด้วยวิทยาศาสตร์

‘ความรัก’ คือความรู้สึกหนึ่งของมนุษย์ที่พยายามหาคำอธิบายกันตลอดมา ทั้งเรื่องโรแมนติก พรหมลิขิต รักแรกพบ แต่อีกนัยหนึ่งความรักก็สามารถไขคำตอบได้ด้วยมุมมองของวิทยาศาสตร์   R U OK ซีรีส์ความสัมพันธ์ ชวน นพ.ปีย์​ เชษฐ์โชติศักดิ์​ เจ้าของเพจ Theory of love มาอธิบายความรักด้วยทฤษฎีจิตวิทยาวิวัฒนาการ เพื่อร่วมหาคำตอบกันว่า ทำไมเราถึงรักกัน ความ...
7 พฤศจิกายน 2019

ทำอย่างไรเมื่อบ้านไม่ใช่คอมฟอร์ตโซนของกันและกัน

ความสัมพันธ์ที่ใกล้ตัว บ่มเพาะความเป็นเรา และมีอิทธิพลกับชีวิตเรามากๆ คือ ‘ครอบครัว’ สำหรับบางคน ครอบครัวคือที่พึ่งพิงทางความรู้สึก แต่กับบางคนกลับคือที่แห่งความไม่ปลอดภัยทางใจ   R U OK ชวน นรพันธ์ ทองเชื่อม นักจิตวิทยาผู้เชี่ยวชาญด้านเด็กและวัยรุ่น มาคุยกันในประเด็นเรื่องความสัมพันธ์ ว่าจริงๆ แล้วครอบครัวจำเป็นต้องเป็นคอมฟอร์ตโซนไหม และ...
พอดแคสต์ R U OK
4 พฤศจิกายน 2019

โอบกอดข้อเสียของตัวเอง เพราะอย่างไรก็เป็นส่วนหนึ่งของตัวเรา

มนุษย์ทุกคนล้วนมีข้อเสีย ทางกายภาพอาจเห็นได้ง่าย เพราะจับต้องได้ เป็นรูปธรรม แต่ทางจิตใจ หากเราไม่สำรวจลงไปให้ลึก ก็อาจไม่พบความแหว่งวิ่น ซึ่งไม่ว่าจะเป็นด้านไหน ก็ไม่ใช่เรื่องง่าย   R U OK ชวน ฟ้า-ษริกา สารทศิลป์ศุภา บิวตี้บล็อกเกอร์ที่ทำยูทูบซีรีส์ ดึงสติ มาแชร์เรื่องการพิจารณาข้อเสียของตัวเอง รวมถึงวิธีการยอมรับข้อเสียต่างๆ ว่าไม่ว่าจ...
พอดแคสต์ R U OK
11 ตุลาคม 2019

เมื่อวัยรุ่นมีภาวะซึมเศร้า จะสื่อสารอย่างไรให้คนรอบข้างเข้าใจ

วัยรุ่นเป็นวัยที่เผชิญกับความเปลี่ยนแปลงหลายอย่างในชีวิต ทั้งด้านร่างกาย ความคิด และสังคม จึงเป็นวัยหนึ่งที่อาจเกิดความเครียดและนำไปสู่ภาวะซึมเศร้าได้ไม่ต่างจากวัยผู้ใหญ่   R U OK ชวน ต้น-นรพันธ์ ทองเชื่อม นักจิตวิทยาผู้เชี่ยวชาญด้านเด็กและวัยรุ่น มาร่วมหาทางออกว่าถ้าวัยรุ่นเริ่มรู้สึกว่าตัวเองอาจเข้าข่ายมีภาวะซึมเศร้า ควรเริ่มต้นสื่อสาร...


Close Advertising
X