×

เศรษฐศาสตร์

เศรษฐกิจเยอรมัน
29 พฤษภาคม 2022

ทำไมเศรษฐกิจเยอรมัน เคยแข็งแกร่งอันดับ 3 ของโลก

ย้อนรอยภูมิหลังเยอรมัน ก่อนขึ้นเป็นมหาอำนาจทางเศรษฐกิจอันดับ 3 ของโลก ภายใต้ปัจจัยด้านภูมิศาสตร์ที่แม้จะเสียเปรียบทางการค้า แต่ด้วยนิสัยของชาวเยอรมันที่มีความมุ่งมั่น จึงสามารถสร้างนวัตรกรรมอย่างแท่นพิมพ์เครื่องแรกของโลก ซึ่งถือเป็นรากฐานสำคัญต่อระบบการคิด ภาษา วัฒนธรรม วิทยาการ และการพัฒนาของเยอรมนีในทุกด้าน จนสามารถกลับมาแข็งแกร่งได้ภายใน 20 ปี ...
เหมา-เติ้ง-เจียง-หู-สี
12 พฤษภาคม 2022

จุดเริ่มต้นเศรษฐกิจจีนเฟื่องฟู ผ่านผู้นำ เหมา-เติ้ง-เจียง-หู-สี

Global Economic Background  เอพิโสดนี้ยังคงพูดถึงจุดเริ่มต้นเศรษฐกิจจีนภายหลังจากช่วงที่มีการปฏิวัติวัฒนธรรมในจีนในยุคเหมาเจ๋อตุง อันนำไปสู่ความเจ็บปวดยาวนานแก่ประเทศจีน แต่หลังจากนั้นจีนก็เริ่มวางโครงสร้างประเทศใหม่ผ่านการใช้นโยบาย Trickle-down effect ในการพัฒนาประเทศ เริ่มต้นวางโครงสร้างพื้นฐาน เช่น อินเตอร์เน็ต และธุรกิจยักษ์ใหญ่ จนในที่สุด...
5 พฤษภาคม 2022

ศตวรรษแห่งความอัปยศของจีน ก่อนจะเป็นพญามังกร

ย้อนรอยปูมหลังศตวรรษที่อ่อนแอที่สุดของจีน ที่แม้จะเป็นประเทศยิ่งใหญ่ มีจำนวนประชากรมหาศาล แต่ด้วยการพัฒนาที่ไม่เท่าทันโลก จึงทำให้จีนยังวิ่งตามหลังชาติตะวันตก ทั้งหมดเกิดขึ้นพร้อมกับช่วงเวลาเปลี่ยนผ่านภายในประเทศ จากระบบจักรพรรดิสู่รูปแบบสาธารณรัฐจีน ก่อนจบลงด้วยชัยชนะของพรรคคอมนิวนิสต์นำโดยเหมาเจ๋อตุง อันเป็นจุดเริ่มต้นของการปฏิวัติวัฒนธรรม นำมาซึ...
8 เมษายน 2022

เศรษฐกิจยุคสงครามโลกครั้งที่ 2 ทุนนิยมครองโลก

The Secret Sauce:Global Economic Background ชวนติดตามเหตุการณ์สำคัญยุคสงครามโลกครั้งที่ 2 เมื่อเยอรมนีพยายามกลับมาประกาศความยิ่งใหญ่ ในขณะที่อเมริกาค่อยๆ เผยแพร่แนวคิดทุนนิยมและส่งอิทธิพลต่อประเทศมหาอำนาจทั่วโลก   รวมถึงเหตุการณ์ช่วงสงครามเย็น เมื่อโลกกำลังเปลี่ยนผ่านจาก ‘อุตสาหกรรมสงคราม’ สู่ ‘การชิงอำนาจทางเศรษฐกิจ’ เรื่องราวเบื้องห...
เศรษฐกิจยุคสงครามโลกครั้งที่ 1 อเมริกาผงาดง้ำ
2 เมษายน 2022

เศรษฐกิจยุคสงครามโลกครั้งที่ 1 อเมริกาผงาดง้ำ

ทำไมอเมริกาถึงก้าวขึ้นมาขยายบทบาทความยิ่งใหญ่หลังสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ 1 และญี่ปุ่นขึ้นเป็นมหาอำนาจ จากการทำสงครามกับสหภาพโซเวียต   ‘The Secret Sauce: Global Economic Background เจาะลึก ‘การบูสต์เศรษฐกิจ’ ด้วย ‘อุตสาหกรรมสงคราม’ ผ่านประเทศมหาอำนาจ และจุดเปลี่ยนที่ทำให้ประเทศอย่างอังกฤษ ฝรั่งเศส รัสเซีย เยอรมนีในยุคสงครามโลกครั้งที่...
เศรษฐกิจรัสเซีย ตอน 2 เหลื่อมล้ำถ่างขึ้น มั่งคั่งไหลออก
18 มีนาคม 2022

เศรษฐกิจรัสเซีย ตอน 2 เหลื่อมล้ำถ่างขึ้น มั่งคั่งไหลออก

เจาะลึกเศรษฐกิจรัสเซีย ในยุคการปกครองของ ‘วลาดิเมียร์ ปูติน’ ผู้นำที่เปลี่ยนผ่านจากยุครุ่งเรืองของเศรษฐี สู่การกวาดล้างชนชั้นบน ที่ทำให้เศรษฐีรัสเซียจำนวนหนึ่งย้ายไปอาศัยในเมืองลอนดอน จนทำให้เกิดปรากฎการณ์ความมั่งคั่งไหลออกนอกประเทศ   บทเรียนการบริหารจัดการโครงสร้างสังคมและเศรษฐกิจที่ควรเรียนรู้คืออะไร ติดตามได้ใน Global Economic Backg...
เศรษฐกิจรัสเซีย ตอนที่ 1 จากสังคมนิยมสู่มหาเศรษฐี Oligarch
17 มีนาคม 2022

เศรษฐกิจรัสเซีย ตอนที่ 1 จากสังคมนิยมสู่มหาเศรษฐี Oligarch

ย้อนรอยประวัติศาสตร์ช่วงเวลาเปลี่ยนผ่านเศรษฐกิจรัสเซีย จากสังคมนิยมสู่การปรับโครงครั้งใหญ่ที่กลายเป็นจุดถือกำเนิด ‘เศรษฐีรัสเซีย’ (Russian Oligarch) กลุ่มนักธุรกิจที่เข้ามามีบทบาทกับประเทศ ส่งผลกระทบให้เกิดความเหลื่อมล้ำแทบทุกมิติ ไม่ต่างอะไรกับ ‘การแช่แข็งเศรษฐกิจรัสเซีย’ และยังคงส่งผลกระทบมาถึงทุกวันนี้      สามารถฟังพ...
IPO ครั้งแรกของโลก จากอังกฤษเรืองอำนาจ ถึงเส้นทางสายไหม
12 กุมภาพันธ์ 2022

IPO ครั้งแรกของโลก จากอังกฤษเรืองอำนาจ ถึงเส้นทางสายไหม

Global Economic Background พาออกน่านน้ำไปสำรวจปูมหลังเศรษฐกิจโลกกันอีกครั้ง ผ่านเรื่องราวของชาติมหาอำนาจโลกอย่าง ‘อังกฤษ’ กับความรุ่งโรจน์ถึงขีดสุดของพวกเขา การยึดครองชาติต่างๆ ในช่วงเวลาดังกล่าว เรื่อยไปจนถึงสงครามฝิ่นที่เกิดขึ้นจากข้อขัดแย้งของอังกฤษและ ‘จีน’ ก่อนจะหมุนหัวเรือกลับทิศ แล่นออกจากฝั่งไปยังเนเธอร์แลนด์เพื่อทำความรู้จักกับกรณีการ PPP ...
Florence
5 กุมภาพันธ์ 2022

ทำไม ฟลอเรนซ์ จึงเป็นซิลิคอนวัลเลย์แห่งแรกของโลก

ทำไม ‘นครฟลอเรนซ์’ ในอิตาลี ถึงถูกขนานนามว่าเป็น ‘ซิลิคอนวัลเลย์’ แห่งยุคเรเนสซองส์ การค้นพบทวีปอเมริกาโดยคริสโตเฟอร์ โคลัมบัส และการเดินเรือออกสำรวจโลกกว้างในอดีตมีที่มาที่ไปอย่างไร กายวิภาคของมนุษย์เกี่ยวข้องกับรูปปั้นเดวิดจริงเหรอ แล้วมันสัมพันธ์อย่างไรกับการเรืองอำนาจของยุโรปในอดีต? ไขคำตอบทั้งหมดใน ‘The Secret Sauce: Global Economic Backgro...
1 พฤศจิกายน 2017

เรียนต่อสวีเดน ประเทศแห่งความสุขที่อุณหภูมิ -10 องศา

     ฐณฐ จินดานนท์ ไป เรียนต่อสวีเดน โดยไปเป็นนักเรียนแลกเปลี่ยนด้านเศรษฐกิจการคลัง เศรษฐศาสตร์การคลัง รวมถึงเศรษฐศาสตร์การพัฒนา ที่ประเทศสวีเดน ที่ใครหลายคนคงคุ้นชื่อในฐานะเป็นถิ่นกำเนิดของอิเกียมากกว่า      แต่อีกสถานะหนึ่งของสวีเดนคือเป็นประเทศต้นแบบของรัฐสวัสดิการอันดับต้นๆ ของโลก “เร็วๆ นี้ก็มีการประกาศว่าสวีเด...

Close Advertising