คาดการณ์ปฏิทินกฎหมายสมรสเท่าเทียม หรือร่างพระราชบัญญัติ (พ.ร.บ.) แก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ป.พ.พ.) (ฉบับที่ ..) พ.ศ. …. ภายหลังจากสภาผู้แทนราษฎรได้ผ่านการเห็นชอบและเข้าสู่การพิจารณาวาระแรกของสมาชิกวุฒิสภาในวันที่ 2 เมษายนนี้
THE STANDARD ได้รวบรวมรายละเอียดโดยจำแนกไทม์ไลน์ให้เห็นภาพชัดเจนขึ้นนับตั้งแต่วันแรกจนถึงวันและเวลา ณ ปัจจุบัน ที่จะเข้าสู่การพิจารณาของสมาชิกวุฒิสภา หากมีมติเห็นชอบ จึงจะนำร่างกฎหมายขึ้นทูลเกล้าฯ เพื่อประกาศใช้เป็นกฎหมายต่อไป มีผลบังคับใช้ทันทีหลังประกาศในราชกิจจานุเบกษา 120 วัน ถือเป็นการสร้างประวัติศาสตร์ใหม่ของประเทศไทย และเป็นการยืนหยัดต่อความหลากหลายทางเพศ
ข่าวที่เกี่ยวข้อง:
อ้างอิง:
- https://www.thansettakij.com/business/economy/592274
- https://www.posttoday.com/smart-life/707257
- https://thestandard.co/same-sex-marriage-bill-info/
- https://workpointtoday.com/lgbt-221124/
วุฒิสภาไม่มีอำนาจปัดตกร่างกฎหมายที่ผ่านสภาผู้แทนราษฎรแล้ว โดยจะลงมติได้ 3 กรณีตามรัฐธรรมนูญมาตรา 137 คือ เห็นชอบ-ไม่เห็นชอบ-เสนอแก้ไขเพิ่มเติม ซึ่งจะมีรายละเอียดแตกต่างกัน
อ้างอิง: THE STANDARD รวบรวม ณ วันที่ 1 เมษายน 2567