×

Mr.Vop

ดาวเคราะห์
8 มกราคม 2020

รู้จัก TOI 700 d ดาวเคราะห์ต่างระบบที่มีสภาพเหมาะสมกับการก่อกำเนิดชีวิตที่สุดที่เพิ่งถูกค้นพบ

ยานอวกาศนักล่าดาวเคราะห์ต่างระบบ ‘TESS’ ค้นพบเป้าหมายที่น่าสนใจเป็นอย่างยิ่ง ล่าสุดพบระบบดาวที่มีดาวเคราะห์ 3 ดวงโดยดาวเคราะห์นึ่งในนั้นมีลักษณะใกล้เคียงกับโลกของเราอย่างไม่น่าเชื่อ   หลายปีที่ผ่านมามักมีข่าวการค้นพบดาวเคราะห์ต่างระบบ หรือดาวเคราะห์นอกระบบสุริยะ (Exoplanet) จำนวนมากกว่า 4,100 ดวง* แต่ดาวเคราะห์เหล่านี้โดยส่วนใหญ่มักมีสภา...
เส้นนาซกา
25 พฤศจิกายน 2019

ทีมนักโบราณคดีญี่ปุ่นค้นพบ ‘เส้นนาซกา’ ลวดลายปริศนาในทะเลทรายเปรูเพิ่มใหม่อีก 143 ภาพ

ทีมนักโบราณคดีและนักมานุษยวิทยาจากมหาวิทยาลัยยามากาตะของญี่ปุ่น นำโดย ศาสตราจารย์มาซาโตะ ซากาอิ (Masato Sakai) ได้ค้นพบ ‘เส้นนาซกา’ (Nazca Lines) ลวดลายปริศนาขนาดใหญ่ ณ ที่ราบชายฝั่งในทะเลทรายทางตอนใต้ของประเทศเปรู เพิ่มเติมจากที่เคยรู้จักกันดีอีกมากมายถึง 143 ภาพ ซึ่งเชื่อว่าสร้างขึ้นมาตั้งแต่ยุค 100-200 ปีก่อนคริสตกาล จนถึงคริสตศักราช 300 &nbs...
แหล่งกำเนิดมนุษย์
31 ตุลาคม 2019

นักวิจัยพบ ‘แผ่นดินแม่’ แหล่งกำเนิดร่วมกันของมวลมนุษยชาติในประเทศบอตสวานา

ไมโทคอนเดรียดีเอ็นเอ หรือ mtDNA รู้จักกันในชื่อดีเอ็นเอจากฝั่งแม่ เป็นดีเอ็นเอที่ส่งต่อจากแม่มาสู่ลูกเท่านั้น (ส่งต่อทั้งลูกชายและลูกสาว) แม้ว่าทางฝั่งพ่อจะมี mtDNA อยู่ในตัวก็ตาม แต่พวกเขาจะไม่สามารถส่งต่อ mtDNA ของตัวเองไปสู่ลูกหลานได้ และเนื่องจากไม่มีกระบวนการเกิด Recombination จึงไม่มีความเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมที่สืบทอดสายพันธุ์จากแม่สู่ลูก (...
คนอเมริกันต้องตั้งชื่อไฟป่า
30 ตุลาคม 2019

ไฟป่าก็มีชื่อด้วย ทำไมคนอเมริกันต้องตั้งชื่อไฟป่า

ทุกวันนี้เราอาจคุ้นชินกับพายุลูกต่างๆ ที่มีชื่อเรียกให้จดจำ แต่คุณทราบหรือไม่ว่าในสหรัฐอเมริกานั้น แม้แต่ไฟป่าก็มีการตั้งชื่อให้เรียกขานเช่นกัน   ก่อนอื่นเราควรมาทำความเข้าใจถึงความจำเป็นในการตั้งชื่อเรียกตัวต้นเหตุของภัยธรรมชาติ ซึ่งแน่นอนว่าเป็นการเพิ่มความสะดวกในการออกข่าวและแจ้งเตือนให้ระวังภัย    ยกตัวอย่างเช่น หากเก...
สยามแรปเตอร์ สุวาติ
14 ตุลาคม 2019

‘สยามแรปเตอร์ สุวาติ’ ไดโนเสาร์กินเนื้อสายพันธุ์ใหม่ที่ขุดพบฟอสซิลในประเทศไทย

ทีมนักบรรพชีววิทยา นำโดย ดร.ดวงสุดา โชคเฉลิมวงศ์ จากมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา พบซากฟอสซิลไดโนเสาร์กินเนื้อสปีชีส์ใหม่ล่าสุดในสกุลคาร์คาโรดอนโทซอรัส (Carcharodontosaurus) ซึ่งเป็นไดโนเสาร์กินเนื้อขนาดใหญ่ปลายยุคจูราสสิกต่อเนื่องตอนต้นยุคครีเทเชียส มีชื่อทางวิทยาศาสตร์ว่า ‘สยามแรปเตอร์ สุวาติ’ (Siamraptor Suwati) จากแหล่งขุดค้นในจังหวัดนครราชสีมา ...
Nuclear Winter
16 กันยายน 2019

จะเกิดอะไรขึ้นกับโลก ถ้าสหรัฐฯ และรัสเซียยิงนิวเคลียร์ใส่กันจนหมดหน้าตัก

โลกกำลังเดินหน้าสู่จุดอันตราย เมื่อทั้งสหรัฐอเมริกาและรัสเซียต่างก็แสดงจุดยืนอย่างชัดเจนและจริงจังที่จะถอนตัวออกจากการเป็นภาคีสนธิสัญญาอาวุธนิวเคลียร์พิสัยกลาง หรือสนธิสัญญา INF   ในแง่ของการเมืองนั้นคงจะมีการเดินหน้าเจรจาต่อรองกันอีกหลายครั้ง    แต่ในแง่วิทยาศาสตร์ มีคำถามที่น่าสนใจว่าสภาพอากาศโลกจะเป็นเช่นไรตามแบบจำลองล...
Lovers of Modena
13 กันยายน 2019

‘คู่รักแห่งโมเดนา’ โครงกระดูกปริศนาที่กุมมือกันมานานกว่า 1,500 ปี และโลกเพิ่งรู้ว่าเป็นเพศชายทั้งคู่

Lovers of Modena หรือคู่รักแห่งโมเดนา คือโครงกระดูกมนุษย์โบราณคู่หนึ่งที่พบในหลุมขุดค้นหนึ่งในหลายหลุมจากเมืองโมเดนา ซึ่งตั้งอยู่ทางตอนเหนือของอิตาลีเมื่อปี 2009 และมีชื่อเสียงโด่งดังขึ้นมาจากความโรแมนติกที่ ณ เวลานั้น ทุกคนเข้าใจกันว่า คือคู่รักสามีภรรยาชายหญิงที่ยังกุมมือกันจากวาระสุดท้ายของชีวิตผ่านวันเวลากว่า 1,500 ปี ก็ยังไม่คลายมือจากกัน &...
Chandrayaan-2
9 กันยายน 2019

นาทีประวัติศาสตร์ ก่อนอินเดียประกาศความสำเร็จเป็นชาติแรก​ของ​โลก ​ที่​นำยานลงจอดบริเวณ​ขั้วใต้ของดวงจันทร์

ช่วงตี 3 เศษของเช้าวันเสาร์ที่ 7 กันยายนที่ผ่านมา ตามเวลาประเทศไทย ผู้คนที่สนใจความก้าวหน้าในด้านการสำรวจอวกาศทั่วโลก​โดยเฉพาะประชาชนชาวอินเดียทั้งประเทศ​ไปจนถึง​ นเรนทรา โมดี นายกรัฐมนตรีอินเดีย ต่างก็เฝ้าลุ้นระทึก​กับรายงานสดระหว่างการลงจอดของยานแลนเดอร์ ‘วิกรัม’ विक्रम ณ ขั้วใต้​ของ​ดวงจันทร์​ ดินแดนที่ไม่เคยมียานอวกาศของชาติใดลงจอดมาก่อน &nb...
Global heading for Point of no return
30 พฤษภาคม 2019

ถ้าโลกใบนี้อยู่ไม่ได้ พวกเราเหล่ามวลมนุษย์จะย้ายไปอยู่ที่ไหนกัน

สภาพภูมิอากาศโลกทุกวันนี้เลวร้ายลงทุกที สภาวะโลกร้อนที่มนุษย์เข้าไปมีส่วนเกี่ยวข้องส่งผลให้อุณหภูมิเฉลี่ยของโลกเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ก่อให้เกิดการละลายของน้ำแข็งขั้วโลก ระดับน้ำทะเลที่เพิ่มสูงขึ้นก็เริ่มกัดเซาะเมืองชายฝั่งและท่วมพื้นที่ต่ำ น้ำในมหาสมุทรที่อุ่นขึ้นทำให้พายุหมุนเขตร้อนมีความรุนแรงขึ้น สภาพอากาศแล้ง ไฟป่า คลื่นความร้อน คลื่นความหนาวเย...
9 เมษายน 2019

เพลง Dubstep ปราบยุง! ความพยายามครั้งใหม่ของมนุษย์ในการต่อสู้กับยุงร้าย

‘ยุงนั้นร้ายกว่าเสือ’ เราคงเคยได้ยินวลีนี้มาเนิ่นนาน และจากข้อมูลทุกสถิติที่ผ่านมา ก็ยืนยันความจริงตามวลีนั้น   ในทุกๆ ปี ‘ยุง’ คือสัตว์ที่เป็นสาเหตุในการเสียชีวิตของประชากรโลกมากกว่าสัตว์อื่นทุกชนิด มากกว่างูพิษ 7.5 เท่า มากกว่าจระเข้ 750 เท่า มากกว่าเสือหรือสัตว์ในตระกูลแมวเป็น 10,000 เท่า และมากกว่าปลาฉลามเป็น 100,000 เท่า [อ้างอิง] ...

MOST POPULAR


Close Advertising
X