×

ชนาธิป ไชยเหล็ก

29 ตุลาคม 2022

ทำไมหมอ (ไม่ทั้งหมด) ถึงคิดว่า ‘บัตรทอง’ ทำให้คนไข้ไม่ดูแลตัวเอง

‘บัตรทอง’ หรือสิทธิ์หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า หรือแรกสุดคือนโยบาย 30 บาทรักษาทุกโรค ที่เริ่มนำร่องมาตั้งแต่ปี 2544 และต่อมายกเลิกการเก็บเงิน 30 บาทไปเมื่อปี 2549 การรักษา ‘ฟรี’ นี้ทำให้เกิด ‘สมมติฐาน’ ที่ถูกหยิบยกขึ้นมาเวลาพูดถึงข้อดี-ข้อเสียของนโยบายนี้มาตลอด นั่นคือ   คนไข้ไม่ดูแลตัวเอง จนทำให้ป่วยขึ้นมา หรือพอป่วยแล้วก็มาโรงพยาบาล ทั้ง...
กัญชา
9 มิถุนายน 2022

ปลูก ปรุง ปุ๊น ควรระวังอะไรบ้าง หลังปลดล็อกกัญชาจากยาเสพติด

9 มิถุนายน 2565 เป็นวันที่ ‘กัญชา’ ถูกปลดล็อกทั้งต้น ไม่จัดเป็นยาเสพติดให้โทษในประเทศไทยอีกต่อไป ไม่ว่าจะเป็นส่วนใดของต้นกัญชาก็ตาม นับเป็นเวลา 3 ปีตั้งแต่พรรคภูมิใจไทยเสนอนโยบาย ‘กัญชาไทยปลูกได้เสรี’ แก้ พ.ร.บ.ยาเสพติด กัญชาเพื่อการแพทย์ พืชเศรษฐกิจตัวใหม่ สร้างความร่ำรวยให้คนไทย ในการรณรงค์หาเสียงเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเมื่อปี 2562 และเป็นน...
1 มีนาคม 2022

พื้นที่เสี่ยงต่ำไม่ต้องสวมหน้ากากอนามัย เปิดแนวทางใหม่ CDC ให้ประชาชนปฏิบัติตัวตามระดับความเสี่ยง

ตั้งแต่วันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2565 ประชาชนมากกว่า 70% ในสหรัฐอเมริกาไม่จำเป็นต้องสวมหน้ากากในสถานที่สาธารณะอีกต่อไป ภายหลังศูนย์ควบคุมและป้องกันโรค สหรัฐอเมริกา (CDC) ประกาศแนวทางประเมินความเสี่ยงของโควิดในชุมชนใหม่ แบ่งเป็น 3 ระดับ ได้แก่ พื้นที่เสี่ยงต่ำ ปานกลาง และสูง โดยแนะนำให้ประชาชนสวมหน้ากากอนามัยเฉพาะในพื้นที่เสี่ยงสูงเท่านั้น CDC มีเกณฑ์ประ...
ข้อดี-ข้อเสียของการยกเลิกสิทธิฉุกเฉินสำหรับผู้ป่วยโควิด (UCEP COVID)
28 กุมภาพันธ์ 2022

ข้อดี-ข้อเสียของการยกเลิกสิทธิฉุกเฉินสำหรับผู้ป่วยโควิด (UCEP COVID)

ถ้าป่วยเป็นโควิดยังรักษาฟรีอยู่หรือไม่ ถ้ายกเลิกนโยบายผู้ป่วยโควิดเป็น ‘ผู้ป่วยฉุกเฉิน’ (UCEP COVID) จะส่งผลกระทบต่อผู้ป่วยอย่างไร เรื่องนี้มีความกังวลมาตั้งแต่ปลายเดือนมกราคม 2565 ยิ่งในช่วงนี้มีการระบาดของสายพันธุ์โอมิครอนทำให้จำนวนผู้ติดเชื้อรายใหม่เพิ่มสูงขึ้น การยกเลิกนโยบายนี้อาจทำให้ผู้ติดเชื้อถูกปฏิเสธการรักษา แล้วจะยิ่งซ้ำเติมสถานการณ์ให้แ...
Deltacron
9 มกราคม 2022

เช็กข้อมูล ‘เดลตาครอน’ (Deltacron) สายพันธุ์ลูกผสมหรือปนเปื้อนในแล็บ

เดลตาครอน (Deltacron) หรือ ‘สายพันธุ์ลูกผสม’ ระหว่างเดลตา (Delta) กับโอมิครอน (Omicron) ยังไม่ใช่ชื่อสายพันธุ์ที่องค์การอนามัยโลกตั้งขึ้น แต่เป็นรายงานข่าวที่อ้างถึงการค้นพบไวรัสที่มีสารพันธุกรรมคล้ายกับเดลตาและโอมิครอนในตัวอย่างจากผู้ป่วยจำนวน 25 รายที่ประเทศไซปรัส เมื่อวันเสาร์ที่ผ่านมา (8 มกราคม)   ดร.ลีออนดิออส คอสทริคิส (Leo...
หน้ากากผ้า
4 มกราคม 2022

หน้ากากผ้าป้องกัน ‘โอไมครอน’ ได้หรือไม่

“ตกลงแล้วหน้ากากผ้าป้องกันโควิดได้หรือไม่” ที่ผ่านมาเวลา ศบค. รณรงค์ให้ประชาชนใส่ ‘หน้ากาก’ จะหมายถึงหน้ากากอนามัยหรือหน้ากากผ้าก็ได้ แต่เมื่อวันที่ 27 ธันวาคม 2564 เพจศูนย์ข้อมูลโควิด-19 ของ ศบค. ได้เผยแพร่อินโฟกราฟิกชิ้นหนึ่งที่มีข้อความว่า ‘เตือน! หน้ากากผ้ากัน Omicron ไม่ได้’ จากนั้นเพจไทยรู้สู้โควิดและกรมควบคุมโรคก็นำไปเผยแพร่ต่อ และมีผู้แชร์โ...
มาตรการโควิดช่วงปีใหม่
20 ธันวาคม 2021

เคานต์ดาวน์ปีนี้จะเหมือนปีที่แล้วหรือไม่ มาตรการโควิดช่วงปีใหม่เป็นอย่างไร

เคานต์ดาวน์ปีใหม่เมื่อปีที่แล้วอยู่ที่ไหนกันบ้างครับ…   สัปดาห์ก่อนสิ้นปี 2563 ผมอยู่เวรสอบสวนโรคของกรมควบคุมโรค เลยได้เคานต์ดาวน์ที่ จ.สมุทรสาคร จำได้ว่าวันนั้นทีมสอบสวนโรคเลิกงานกันตามปกติคือประมาณ 1-2 ทุ่ม แวะซื้อมื้อเย็นที่ตลาดโต้รุ่งรอบวงเวียนน้ำพุ (ถึงแม้จะชื่อว่า ‘โต้รุ่ง’ แต่ตอนนั้นทุกร้านจะต้องเก็บร้านให้ทันเคอร์ฟิว 22.00-05.00 ...
โอไมครอน
18 ธันวาคม 2021

วัคซีนที่มีอยู่ป้องกันอาการป่วยจากโอไมครอนได้แค่ไหน

Get Boosted Now หรือ ‘ฉีดเข็มกระตุ้นตอนนี้’ คือคำขวัญล่าสุดที่ใช้ในการรณรงค์ฉีดวัคซีนของสหราชอาณาจักร ซึ่งปัจจุบันแนะนำให้ผู้ใหญ่อายุ 18 ปีขึ้นไปที่ได้รับวัคซีนโควิดครบ 2 เข็มแล้ว เข้ารับการฉีดวัคซีนเข็มกระตุ้นหรือบูสเตอร์โดสหลังจากเข็มสุดท้าย 3 เดือน เนื่องจากการะบาดของโควิดสายพันธุ์โอไมครอนที่มีจำนวนผู้ติดเชื้อเพิ่มมากขึ้นในขณะนี้   เม...
Pfizer
29 พฤศจิกายน 2021

เจาะลึกวัคซีน Pfizer เข็มกระตุ้น เมื่อสหรัฐฯ แนะนำให้ฉีด 6 เดือนหลังเข็มที่ 2

‘การได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์’ อาจเปลี่ยนจากการได้รับวัคซีนป้องกันโควิด 2 เข็ม เป็น 3 เข็ม เร็วๆ นี้ เพราะเมื่อวันที่ 19 พฤศจิกายน 2564 ศูนย์ควบคุมและป้องกันโรค สหรัฐอเมริกา (CDC) แนะนำให้ผู้ใหญ่อายุ 18 ปีขึ้นไปทุกคนเข้ารับการฉีดวัคซีนเข็มกระตุ้น 6 เดือนหลังจากได้รับวัคซีนสูตร 2 เข็ม (วัคซีน Pfizer หรือ Moderna) หรือ 2 เดือนหลังจากได้รับวัคซีนสูตร 1 ...
ระดับภูมิคุ้มกัน
24 พฤศจิกายน 2021

ระดับภูมิคุ้มกันบอกประสิทธิผลของวัคซีนได้หรือไม่ ประสิทธิผลจริงควรศึกษาอย่างไร

เมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน 2564 กรมควบคุมโรคเผยแพร่อินโฟกราฟิกหัวข้อ ‘วัคซีนสูตรต่างๆ ป้องกันโควิด-19 ที่มีอาการ’ โดยระบุประสิทธิภาพของวัคซีน AstraZeneca (AZ) และ Sinovac (SV) ที่ใช้ในประเทศไทย 4 สูตร ได้แก่ AZ 1 เข็ม, AZ 2 เข็ม, สูตรไขว้ SV+AZ และวัคซีน 3 เข็ม SV+SV+AZ จากการศึกษาระดับภูมิต้านทานและคาดประมาณโดย ศ.นพ.ยง ภู่วรวรรณ และอ้างอิงงานวิจัยชิ...

MOST POPULAR


Close Advertising
X