×

ธิดากานต์ รุจิพัฒนกุล

2 มีนาคม 2018

Sleepless in Japan

“My head was always foggy. I couldn’t get an accurate fix on the things around me - their distance or mass or tenure. The drowsiness would overtake me at regular, wavelike intervals: on the subway, in the classroom, at the dinner table. My mind would slip away from my body. The world would sway soundlessly.”   ภาพจิตรกรรม Another Sleeple...
5 กุมภาพันธ์ 2018

สมการของความโสด

ถ้าคุณเห็นชื่อบทความนี้แล้วคลิกเข้ามาอ่านทันที ความเป็นไปได้ที่คุณยังโสดอยู่ (หรือลังเลว่าอยากโสด) นั้นมีสูง   ด้วยบริบททางสังคมและค่านิยมที่เปลี่ยนไปในปัจจุบัน การเลือกที่จะอยู่เป็นโสดไม่ใช่เรื่องใหญ่หรือผิดแผกแตกต่างดังในอดีต แต่เชื่อว่าสำหรับคนโสดบางคนก็อาจยังมีข้อสงสัยลึกๆ ในใจว่า ‘ทำไมเราถึงยังโสดอยู่ล่ะ?’   ปีเตอร์ แบ็ค...
8 มกราคม 2018

ดิจิทัล ดีท็อกซ์ กลับมานะ…สติ!

ภาพเบื้องหน้าคือเพดานเต็นท์สีเหลืองฟ้า พื้นผิวที่แผ่นหลังสัมผัสคือเสื่อพลาสติกปูรองพื้นเต็นท์ ข้อเท้าขวาคันยิบๆ จากแมลงอะไรสักอย่าง   “มาทำอะไรที่นี่วะ? ทำไมไม่นอนเล่นคอมฯ อยู่บ้าน อาบน้ำอุ่นๆ นอนเตียงนุ่มๆ หรือนัดไปปาร์ตี้เคานต์ดาวน์กับเพื่อน”   นั่นคือเสียงในความคิดของหมอในคืนวันที่ 29 ธันวาคมที่ผ่านมา   อาการอยา...
11 ธันวาคม 2017

จาก Nobel สู่ Knowledge ตอนที่ 3 เกิดอะไรขึ้นเมื่อเราแข็งขืนกับธรรมชาติของการนอน

ความรู้ มักมีจุดเริ่มต้นมาจาก ‘ความไม่รู้’ แต่ ‘กระหายใคร่รู้’   ‘นาฬิกาชีวภาพ’ ถูกหยิบยกขึ้นมาในวงการวิทยาศาสตร์เป็นครั้งแรกเมื่อศตวรรษที่ 18 เมื่อนักดาราศาสตร์ชาวฝรั่งเศสเกิดความสงสัยว่า พืชบางชนิดที่ใบชูชันในตอนกลางวัน แต่หุบอย่างเจียมตัวเมื่อตกกลางคืนจะมีการเปลี่ยนแปลงอย่างไรหากไม่มีแสงอาทิตย์มากระตุ้น เขาจึงนำต้นไมยราบ (Mimosa Pudi...
27 พฤศจิกายน 2017

จาก Nobel สู่ Knowledge ตอนที่ 2 ออโตฟาจี้

“ผมเป็นแค่นักชีววิทยาธรรมดาๆ คนหนึ่ง ที่ทำงานกับยีสต์มาเป็นเวลา 40 ปี ยีสต์ได้ให้บทเรียนอะไรหลายอย่างกับผม และยังให้ของขวัญซึ่งเป็นของโปรดของผมเลย นั่นคือ สาเก!”   โยชิโนริ โอซูมิ กล่าวติดตลกในสุนทรพจน์หลังจากรับรางวัลโนเบลสาขาการแพทย์ปี 2016 จากการค้นพบรายละเอียดกลไกการทำงานของกระบวนการ ออโตฟาจี้ (Autophagy) เขาใช้เวลากว่า 40 ปี ในการเพ...
13 พฤศจิกายน 2017

จาก Nobel สู่ Knowledge ตอนที่ 1 เทโลเมียร์

     ตั้งแต่วัยมัธยม อาจด้วยความเป็นเด็กที่เรียนมาสายวิทยาศาสตร์ หมอจะตื่นเต้นเบาๆ ทุกครั้งเมื่อได้ยินการประกาศผลโนเบล โดยเฉพาะโนเบลสาขาทางการแพทย์ แต่ก็ต้องแอบยอมรับว่าหลายครั้งที่อ่านตามข่าวแล้วไม่เข้าใจว่าสิ่งที่นักวิทยาศาสตร์และแพทย์อัจฉริยะเหล่านี้ค้นพบคืออะไร แล้วมันจะมาเกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวันของเราได้ยังไง รู้แต่ว่ามันคงยิ่...
4 ตุลาคม 2017

‘เย็นศิระ…เพราะพระบริบาล’ ในวันที่เข้าใจ

     “กรดไขมันดีอย่างโอเมกา 3 มีในปลาไทยๆ ราคาไม่แพงบ้างไหมคะ”      มีคำถามเรื่องสุขภาพส่งมาทางทวิตเตอร์เป็นปกติ ซึ่งในขณะที่หมอกำลังพิมพ์ตอบด้วยความปกตินั้นเอง      มีค่ะ ปลาไทยๆ อย่างปลาทู ปลาจาระเม็ด ปลาดุก ปลาสวาย ปลานิล… ทันทีที่นิ้วก้อยขวาเคาะตัวอักษร ล.ลิง ความรู้สึกบางอย่างที่ไม่เป็นปกติก็...
24 กันยายน 2017

“สวัสดีครับ ผมนายแพทย์ปัญญา ประดิษฐ์ครับ”

     เรามาหลับตาแล้วจินตนาการไปด้วยกันนะคะ      ในวันหนึ่งที่คุณตื่นมาแล้วเจ็บคอและรู้สึกเหมือนมีไข้ คุณค่อยๆ เคลื่อนตัวไปยังห้องน้ำ ปัสสาวะลงโถซึ่งหน้าตาเหมือนสุขภัณฑ์ทั่วไป แต่มันกลับวิเคราะห์ปัสสาวะของคุณและส่งข้อความเตือนว่า ปัสสาวะของคุณกำลังขาดน้ำ      กระจกในห้องน้ำแปรสภาพเป็นหน้าจอคอมพิวเตอร...
1 กันยายน 2017

ความต่างระหว่างชาย-หญิง จากวิศวกรชายกูเกิลถึงแพทย์หญิงไทย

     “ผู้หญิงมักจะมีความกังวลมากกว่า ทนต่อความเครียดได้น้อยกว่า จึงมีผู้หญิงในสายงานที่ต้องทนต่อความเครียดอย่างสายไอทีน้อยกว่า      “ผู้หญิงคิดเป็นระบบได้ไม่ดีเท่าผู้ชาย งานเขียนโปรแกรมจึงเหมาะกับผู้ชาย ในขณะที่ผู้หญิงเหมาะกับงานที่ใช้การติดต่อสื่อสารทางสังคม และงานด้านสวยๆ งามๆ      “ผู้ชายมีแรงผล...
19 สิงหาคม 2017

ครีมกันแดด ปะการัง เมื่อมนุษย์ไม่หยุดแค่ผืนดิน

     ดาวโลกถือกำเนิดมา 4.54 พันล้านปี เป็นเวลาที่ยาวนานมาก ยาวเกินกว่าที่พวกเราจะจินตนาการช่วงเวลาเนิ่นนานขนาดนั้นออก หากเปรียบเทียบใหม่ สมมติว่า 4.54 พันล้านปีนั้น มีค่าเท่ากับ 1 ปี สมมติว่าโลกถือกำเนิดในวันที่ 1 มกราคม และสมมติอีกทีว่าวันนี้คือวันที่ 31 ธันวาคม ตอนใกล้จะเที่ยงคืน หากใช้หน่วยสมมติเปรียบเทียบนี้แล้ว จะพบว่ามนุษย์เราน...

MOST POPULAR


Close Advertising
X