×

World

OECD
18 มิถุนายน 2024

OECD สำคัญอย่างไร ทำไมไทยต้องเข้าร่วม?

รัฐบาลไทยแสดงเจตจำนงในการสมัครเป็นสมาชิกองค์การเพื่อความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา หรือ OECD (Organisation for Economic Co-operation and Development) เมื่อวันที่ 16 เมษายนที่ผ่านมา โดยถือเป็นหนึ่งในภารกิจสำคัญเพื่อสนับสนุนการพัฒนาทางเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ และทำให้ไทยกลับมาเป็นที่ยอมรับในเวทีโลกมากขึ้น   OECD เป็นองค์กรระหว่างประเทศ...
เนทันยาฮู อิสราเอล
17 มิถุนายน 2024

เนทันยาฮูยุบคณะรัฐมนตรีสงครามอิสราเอล

เบนจามิน เนทันยาฮู นายกรัฐมนตรีอิสราเอล ตัดสินใจยุบคณะรัฐมนตรีสงคราม ซึ่งมีบทบาทสำคัญในการขับเคลื่อนและกำหนดทิศทางการทำสงครามอิสราเอล-ฮามาสในฉนวนกาซา   การตัดสินใจดังกล่าวของผู้นำอิสราเอลมีขึ้นเพียงหนึ่งสัปดาห์หลังจาก เบนนี แกนต์ซ ผู้นำฝ่ายค้านคนสำคัญถอนตัวจากคณะรัฐมนตรีสงคราม โดยอ้างถึงความล้มเหลวของเนทันยาฮูในการสร้างกลยุทธ์สงครามในกาซ...
17 มิถุนายน 2024

ประชุมสันติภาพยูเครนครั้งแรกสำเร็จแค่ไหน

การประชุมสันติภาพ (Peace Summit) ครั้งแรก ซึ่งจัดขึ้นที่เมืองลูเซิร์น ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ปิดฉากลงแล้วเมื่อช่วงสุดสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยมีผู้นำและผู้แทนจากรัฐและองค์การระหว่างประเทศกว่า 80 แห่งเข้าร่วมประชุม เพื่อเป็นการแสดงออกเชิงสัญลักษณ์ว่าจะสนับสนุนสันติวิธีและผลักดันสันติภาพให้เกิดขึ้นในยูเครน หลังสงครามรัสเซีย-ยูเครนกำลังเข้าสู่ปีที่ 3 อย่างไร...
G7
17 มิถุนายน 2024

เปิดแผนเงินกู้ 5 หมื่นล้านดอลลาร์ G7 ไฟเขียวช่วยยูเครน เงินมาจากไหน จัดสรรอย่างไร

กลุ่มประเทศอุตสาหกรรมชั้นนำ 7 ประเทศ หรือ G7 มีมติเห็นชอบให้นำรายได้จากทรัพย์สินของรัสเซียที่ถูกอายัดไว้มาเป็นเงินกู้ให้แก่ยูเครนจำนวน 5 หมื่นล้านดอลลาร์ เพื่อช่วยเคียฟต่อสู้กับการรุกรานของรัสเซียต่อไป และเพื่อส่งสัญญาณท่าทีของชาติตะวันตกต่อมอสโก   ผู้นำประเทศสมาชิก G7 ได้แก่ อังกฤษ แคนาดา ฝรั่งเศส เยอรมนี อิตาลี ญี่ปุ่น และสหรัฐอเมริกา ...
วิเคราะห์ปมร้อน ‘คลองฟูนันเตโช’ เมกะโปรเจกต์เชื่อมพนมเปญ-อ่าวไทย ที่อาจสะเทือนเศรษฐกิจไทย-เวียดนาม
16 มิถุนายน 2024

วิเคราะห์ปมร้อนคลองฟูนันเตโช เมกะโปรเจกต์เชื่อมพนมเปญ-อ่าวไทย ที่อาจสะเทือนเศรษฐกิจไทย-เวียดนาม

โครงการขุด คลองฟูนันเตโช (Funan Techo Canal) ความยาว 180 กิโลเมตร เพื่อเชื่อมเส้นทางขนส่งสินค้าทางเรือจากแม่น้ำโขง ผ่านแม่น้ำบาสักในกรุงพนมเปญ ไปถึงทะเลอ่าวไทยทางใต้ของกัมพูชา กำลังกลายเป็นประเด็นที่หลายฝ่ายจับตามอง หลังฮุน มาเนต นายกรัฐมนตรีกัมพูชา ประกาศเตรียมเดินหน้าโครงการในวันที่ 5 สิงหาคม ซึ่งตรงกับวันคล้ายวันเกิดสมเด็จฮุน เซน อดีตนายกรัฐมนตร...
ฝรั่งเศส
16 มิถุนายน 2024

ฝรั่งเศสประท้วงใหญ่ต้านกลุ่มขวาจัด หวั่นชนะเลือกตั้งครองอำนาจรัฐบาล

ชาวฝรั่งเศสทั่วประเทศพร้อมด้วยผู้นำพันธมิตรจากพรรคการเมืองฝ่ายซ้าย ร่วมเดินขบวนประท้วงใหญ่วานนี้ (15 มิถุนายน) เพื่อต่อต้านกลุ่มชาตินิยมขวาจัด ก่อนที่จะมีการเลือกตั้งในวันที่ 30 มิถุนายน โดยกลุ่มผู้ประท้วงแสดงความกังวลที่ฝ่ายขวาจัดอาจชนะการเลือกตั้งและได้ครองอำนาจเป็นครั้งแรกนับตั้งแต่สงครามโลกครั้งที่ 2   การประท้วงดังกล่าวเกิดขึ้นหลังป...
มาริษ เสงี่ยมพงษ์ วิสัยทัศน์ ประเทศไทย
15 มิถุนายน 2024

เปิดวิสัยทัศน์การต่างประเทศ มาริษ เสงี่ยมพงษ์ ย้ำภารกิจฟื้นฟูภาพลักษณ์-ดึงเรดาร์โลกกลับมาไทย

มาริษ เสงี่ยมพงษ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศคนใหม่ใน ครม. เศรษฐา 2 แสดงวิสัยทัศน์ในการแถลงทิศทางนโยบายการต่างประเทศภายใต้หัวข้อ ‘Ignite Thailand, Re-ignite Thai Diplomacy’ ที่กระทรวงการต่างประเทศ เมื่อวันที่ 14 มิถุนายนที่ผ่านมา โดยเน้นว่ามีหลายภารกิจด้านการต่างประเทศที่ต้องทำ หลังได้รับมอบหมายจากเศรษฐา ทวีสิน นายกรัฐมนตรี   เป็น...
สิ่งแวดล้อม
15 มิถุนายน 2024

ชมคลิป: ประชาชนสู้เพื่อสิ่งแวดล้อม | KEY MESSAGES #141

นับตั้งแต่การปฏิวัติอุตสาหกรรมครั้งที่ 1 เมื่อปี 1760 ทุกกิจกรรมทางเศรษฐกิจของมนุษย์มีต้นทุนอย่างหนึ่งที่เราไม่เคยนับเข้าไปเลย นั่นคือ ‘ต้นทุนด้านสิ่งแวดล้อม’ ผ่านไป 200 กว่าปี เราเพิ่งตระหนักได้จากวิกฤตสภาพภูมิอากาศ   แต่ที่น่าเศร้าคือไม่ว่าใครจะก่อมลพิษมากหรือน้อย แต่มนุษย์ทุกคนบนโลกได้รับผลกระทบจากการกระทำแบบไม่เท่ากัน และในหลายครั้ง ...
ปูติน
15 มิถุนายน 2024

ปูตินเรียกร้องยูเครนยอมจำนน หากต้องการเปิดเจรจาสันติภาพ

ประธานาธิบดีวลาดิเมียร์ ปูติน ของรัสเซีย กล่าวถ้อยแถลงผ่านทางโทรทัศน์วานนี้ (14 มิถุนายน) เรียกร้องให้ยูเครนยอมจำนนและถอนทหารทั้งหมดออกจากพื้นที่สู้รบทางตะวันออกและทางใต้ของยูเครน และยกเลิกความพยายามในการสมัครเป็นสมาชิก NATO หากต้องการให้รัสเซียยุติการรุกราน และเปิดการเจรจาสันติภาพ   “กองทัพยูเครนจะต้องถอนออกไปจากสาธารณรัฐประชาชนโดเนตสก์...
14 มิถุนายน 2024

ดัชนีสันติภาพโลก 2024 ชี้ โลกขัดแย้งมากสุดนับตั้งแต่สิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ 2

รายงานดัชนีสันติภาพโลก (Global Peace Index) ประจำปี 2024 โดย Institute for Economics & Peace (IEP) ชี้ให้เห็นว่า ความสงบสุขทั่วโลกลดลงจากเดิม โดย 97 ประเทศมีสันติภาพถดถอย ขณะที่มีเพียง 65 ประเทศเท่านั้นที่มีแนวโน้มสงบสุขเพิ่มมากขึ้น ซึ่งพิจารณาจาก 3 ปัจจัยหลัก ได้แก่ ปัญหาความขัดแย้งทั้งในและนอกประเทศ ระดับความปลอดภัยและมั่นคงของสังคม รวมถึงอิท...

MOST POPULAR


Close Advertising