×

Science

2 ตุลาคม 2024

นักดาราศาสตร์พบดาว Barnard b ดาวเคราะห์หินที่โคจรรอบดาวฤกษ์ดวงเดี่ยวใกล้โลกที่สุด

นักดาราศาสตร์ยืนยันการค้นพบดาว Barnard b ดาวเคราะห์หินที่โคจรรอบดาว Barnard’s Star ดาวฤกษ์ดวงเดี่ยวที่อยู่ใกล้กับระบบสุริยะที่สุด   ระบบดาวดังกล่าวอยู่ห่างจากโลกไปประมาณ 6 ปีแสง และเป็นระบบดาวที่อยู่ใกล้ระบบสุริยะเป็นอันดับสองต่อจากระบบ Alpha Centauri อันประกอบด้วยดาวฤกษ์ 3 ดวง และดาวเคราะห์อย่างน้อย 1 ดวง ทำให้ Barnard’s Star เป็นดาวฤกษ...
29 กันยายน 2024

มีอะไรอยู่บน ดวงจันทร์ยูโรปา? ทำไม NASA ถึงส่งภารกิจ Europa Clipper ไปสำรวจ

ในวันที่ 10 ตุลาคมนี้ NASA เตรียมส่งยาน Europa Clipper ออกเดินทางไกลกว่า 2,900 ล้านกิโลเมตร และใช้ระยะเวลาในอวกาศลึกนานกว่า 5 ปีครึ่ง เพื่อออกสำรวจดวงจันทร์ยูโรปาของดาวพฤหัสบดีอย่างใกล้ชิด   Europa Clipper เป็นยานอวกาศลำใหญ่ที่สุดของ NASA ที่มีภารกิจมุ่งหน้าไปสำรวจวัตถุในระบบสุริยะ โดยมีความยาวถึง 30 เมตร เมื่อกางแผงโซลาร์เซลล์ออกระหว่าง...
กาแล็กซี GS-NDG-9422
28 กันยายน 2024

นักดาราศาสตร์พบกาแล็กซีประหลาดในยุคแรกเริ่มของจักรวาล จากข้อมูลกล้องเจมส์ เว็บบ์

นักดาราศาสตร์ พบ กาแล็กซีประหลาด ในยุคแรกเริ่มของจักรวาล เมื่อแสงจากฝุ่นก๊าซห้อมล้อมดวงดาวกลับส่องสว่างกว่าแสงดาวฤกษ์ และอาจเป็นกาแล็กซีที่อยู่กึ่งกลางระหว่างการกำเนิดดาวฤกษ์รุ่นแรกก่อนวิวัฒนาการมาเป็นดาราจักรอย่างที่เรารู้จักในปัจจุบัน   กาแล็กซี GS-NDG-9422 อาจปรากฏเป็นจุดสว่างมัวๆ ในภาพถ่ายอวกาศห้วงลึกของกล้องเจมส์ เว็บบ์ แต่ข้อมูลจาก...
แม่เหล็กตัวต้านทาน
27 กันยายน 2024

จีนสร้างแม่เหล็กตัวต้านทาน แรงกว่าสนามแม่เหล็กโลกกว่า 800,000 เท่า

ทีมนักวิทยาศาสตร์จีนจากสถาบันวิทยาศาสตร์กายภาพเหอเฝย พัฒนา​แม่เหล็กตัวต้านทานจนมีสนามแม่เหล็กคงที่ที่ 42.02T (เทสลา)​ ทำลายสถิติ​โลกเดิมของห้องวิจัย National MagLab ในสหรัฐ​ฯ ที่ทำไว้ 41.4T ในปี 2017 ได้สำเร็จ​   และหากนำไปเทียบกับขนาดสนามแม่เหล็ก​โลกที่วัดค่าได้บริเวณ​กรุงลอนดอน​ซึ่งอยู่ที่ 50µT (ไมโครเทสลา) ถือว่าแม่เหล็กตัวต้านทานของจ...
หมูเด้ง ฮิปโปแคระ
25 กันยายน 2024

ทำไมใครๆ ก็รักหมูเด้ง วิทยาศาสตร์อธิบายได้

ทุกอย่างมันเกินควบคุมแล้ว! หลังภาพความน่ารักของหมูเด้ง ฮิปโปแคระตุ้ยนุ้ยขวัญใจชาวไทย กลายเป็นไวรัลบนโซเชียลมีเดียที่ครองหัวใจคนทั่วโลก    ตลอดสัปดาห์ที่ผ่านมา เชื่อว่าชาวเน็ตคงได้เห็นภาพของหมูเด้งที่ไปปรากฏตัวอยู่ตามสื่อดังระดับโลกหลายแห่ง ไม่ว่าจะเป็น TIME, CNN, BBC, Forbes, The Guardian และล่าสุด The New York Times ขณะที่เพจ Faceb...
23 กันยายน 2024

NASA แก้ปัญหาท่อส่งเชื้อเพลิงยาน Voyager 1 อุดตัน จากสุดขอบระบบสุริยะได้สำเร็จ

เมื่อวันที่ 27 สิงหาคม 2024 วิศวกรของภารกิจ Voyager 1 แก้ปัญหาท่อส่งเชื้อเพลิงในยานอวกาศอุดตัน ระหว่างทำงานอยู่ห่างจากโลก 24,600 ล้านกิโลเมตรได้สำเร็จ   ท่อส่งเชื้อเพลิงดังกล่าวทำให้ระบบขับดันของยานสามารถควบคุมตำแหน่ง Voyager 1 ให้หันจานรับ-ส่งสัญญาณกลับมาสู่โลก เพื่อรับคำสั่งและส่งข้อมูลจากอุปกรณ์สำรวจทางวิทยาศาสตร์ ระหว่างปฏิบัติภารกิจ...
22 กันยายน 2024

สรุปข้อมูล 2024 PT5 ดวงจันทร์ดวงที่ 2 ของโลก ที่แวะมาโคจรเพียงชั่วคราว

วันที่ 29 กันยายน อิทธิพลจากแรงโน้มถ่วงโลก ทำให้ดาวเคราะห์น้อย 2024 PT5 กลายเป็นดวงจันทร์บริวารของโลกอีกดวงเป็นการชั่วคราว   อย่างไรก็ตาม 2024 PT5 มีขนาดเพียง 10 เมตร ซึ่งเล็กกว่าดวงจันทร์ (3,475 กิโลเมตร) และมีอันดับความสว่าง หรือ Magnitude เพียง 22 โดยหากมีค่าความสว่างที่สูง แปลว่าวัตถุนั้นมีความสว่างน้อย ยกตัวอย่างเช่น ดวงอาทิตย์มีค่า...
20 กันยายน 2024

NASA เผยภาพสองกาแล็กซีกำลังชนกัน พร้อมรายละเอียดคมชัดจากกล้องเจมส์ เว็บบ์

NASA เผยภาพสองกาแล็กซีที่กำลังควบรวมกัน พร้อมรายละเอียดสุดคมชัดจากกล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์ เว็บบ์   วัตถุดังกล่าวมีชื่อว่า ‘Arp 107’ อยู่ห่างจากโลกไปประมาณ 465 ล้านปีแสง ประกอบด้วยกาแล็กซีทรงรี PGC 32628 (ทางซ้ายของภาพ) และกาแล็กซีชนิดก้นหอย PGC 32620 (ขวา) ที่พุ่งชนกันเมื่อหลายร้อยล้านปีที่แล้ว และอยู่ในกระบวนการควบรวมกันอยู่ในปัจจุบัน ...
สึนามิ
16 กันยายน 2024

ครบรอบ 1 ปี สึนามิลึกลับสูงถึง 200 เมตรในกรีนแลนด์ ที่นักวิทยาศาสตร์เพิ่งพบสาเหตุ

เคยมีคนกล่าวไว้ว่า ภัยพิบัติที่เกิดในที่เปลี่ยวร้างไร้ผู้คนนั้น ไม่นับว่าเป็นภัยพิบัติ และไม่ว่าท่านจะเห็นด้วยกับคำพูดนี้หรือไม่ เมื่อเดือนกันยายน 2023 หรือก็คือครบรอบ 1 ปีที่ผ่านมา เคยมีคลื่นสึนามิที่มีความสูงของยอดคลื่นสูงถึง 200 เมตร เกิดขึ้นมาจริงๆ บนโลกใบนี้ โดยไม่มีใครทราบเรื่องขณะเกิดเหตุเลย   ปกติแล้วคลื่นสึนามิจะเกิดจากการแทนที่...
14 กันยายน 2024

NASA เผยภาพกลุ่มดาวฤกษ์อายุน้อยที่ชายขอบกาแล็กซีทางช้างเผือก

ชวนดู ‘ดอกไม้ไฟ’ จากบรรดาดวงดาวเยาว์วัย ณ ชายขอบทางช้างเผือก ในภาพถ่ายล่าสุดจากกล้องเจมส์ เว็บบ์   นักดาราศาสตร์ใช้กล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์ เว็บบ์ ถ่ายภาพกระจุกดาวฤกษ์เกิดใหม่ในบริเวณชายขอบกาแล็กซีทางช้างเผือก เพื่อศึกษาผลกระทบของสภาพแวดล้อมในอวกาศที่แตกต่างกัน   ภาพถ่ายดังกล่าวเผยให้เห็นพื้นที่เมฆโมเลกุล Digel Cloud 2S ที่ประ...

MOST POPULAR


Close Advertising
X