×

Science

ดวงอาทิตย์​เทียม
11 กุมภาพันธ์ 2024

ดวงอาทิตย์​เทียม​ในอังกฤษ สร้างสถิติพลังงานนิวเคลียร์ฟิวชันครั้งใหม่ เทียบเท่าจ่ายพลังงาน​หล่อเลี้ยง​บ้าน 12,000 หลัง นาน 5 วินาที

เตาปฏิกรณ์​แบบหลอมรวมธาตุชนิดโทคาแมคในโครงการ ‘Joint European Torus (JET)’ ที่ศูนย์พลังงานฟิวชันคัลแฮม ในอ็อกซ์ฟอร์ดเชียร์ของอังกฤษ ทำลายสถิติด้านพลังงานนิวเคลียร์ฟิวชันครั้งใหม่ โดยสามารถสร้างพลัง​งานได้ถึง 69.26​ เมกะจูลจากมวลต้นทุนเพียง 0.21 มิลลิกรัม ทำลายสถิติ​ 59 เมกะจูลที่ทำได้ในปี 2022 ไปเรียบร้อย​   พลังงานจำนวนนี้เปรียบเทียบ​แล...
ค้นพบ ดาวเคราะห์ ใกล้เคียงขนาดโลก
11 กุมภาพันธ์ 2024

ค้นพบดาวเคราะห์ขนาดใกล้เคียงโลก ในเขตที่อาจพบน้ำบนพื้นผิว รอบดาวฤกษ์ที่ห่างไป 137 ปีแสง

นักดาราศาสตร์ค้นพบดาวเคราะห์ประเภท Super-Earth อย่างน้อย 1 ดวง โคจรในเขต Habitable Zone ที่อาจมีอุณหภูมิเหมาะสมและเอื้อให้ชีวิตดำรงอยู่ได้ รอบดาวฤกษ์ที่อยู่ห่างจากโลกไปราว 137 ปีแสง   ดาวเคราะห์ TOI-715 b ถูกตรวจพบเป็นครั้งแรกจากข้อมูลของกล้องโทรทรรศน์อวกาศ TESS มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 1.55 เท่าของโลก และโคจรรอบเขต Habitable Zone หรือเขต...
8 กุมภาพันธ์ 2024

นักวิจัยแนะ เพิ่มเกณฑ์ ‘ระดับ​ 6’ ใช้กับ​เฮอริเคน​ที่นับวันยิ่งรุนแรง​ขึ้น

วิกฤตสภาพ​อากาศ​กำลังเปลี่ยนแปลง​โลกใบนี้ในแทบทุกด้าน แม้แต่ ‘มาตราเฮอริเคนแซฟเฟอร์-ซิมป์สัน’ ที่เคยใช้เป็นมาตรฐาน​วัดความรุนแรงของพายุหมุน​เขตร้อน​กันมายาวนานก็ยังมาถึงทางตัน ระดับ 5 ที่เคยเป็นระดับสูงสุดยังไม่พอ อาจต้องพิจารณา​เพิ่มระดับสูง​สุดขึ้นไปอีกขั้น นั่นคือ ‘ระดับ 6’    ศูนย์เฮอริเคนแห่งชาติของสหรัฐฯ หรือ NHC เริ่มใช้มาตรา...
8 กุมภาพันธ์ 2024

โอเล็ก โคโนเนนโก นักบินอวกาศรัสเซีย ทำลายสถิติเวลาที่อาศัยอยู่บนอวกาศยาวนานที่สุด

เมื่อเช้าวันที่ 4 กุมภาพันธ์ โอเล็ก โคโนเนนโก นักบินอวกาศชาวรัสเซีย กลายเป็นเจ้าของสถิติผู้อยู่อาศัยบนอวกาศนานที่สุดในประวัติศาสตร์ ด้วยระยะเวลามากกว่า 880 วันในวงโคจร จากการขึ้นบินทั้งสิ้น 5 ครั้ง   โคโนเนนโกในวัย 59 ปี กำลังปฏิบัติงานบนสถานีอวกาศนานาชาติ ในภารกิจ Expedition 69-71 ตั้งแต่วันที่ 15 กันยายน 2023 โดยเป็นส่วนหนึ่งของภารกิจร...
ดาวเคราะห์นอกระบบสุริยะ
6 กุมภาพันธ์ 2024

กล้องฮับเบิลตรวจพบไอน้ำในบรรยากาศของดาวเคราะห์นอกระบบขนาดเล็กที่สุด

นักดาราศาสตร์ตรวจพบไอน้ำในบรรยากาศของดาวเคราะห์นอกระบบสุริยะ GJ 9827 d ที่อยู่ห่างโลกไป 97 ปีแสง จากข้อมูลล่าสุดของกล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล   น้ำเป็นหนึ่งในโมเลกุลที่พบได้ทั่วไปในเอกภพ และถือเป็นสิ่งจำเป็นของสิ่งมีชีวิตทุกชนิดบนโลก ทำให้การค้นหาชีวิตในแห่งหนอื่นของเอกภพ มักดำเนินควบคู่ไปกับการตรวจหาร่องรอยของน้ำบนดาวเคราะห์ที่โคจรรอบดา...
4 กุมภาพันธ์ 2024

NASA เตรียมส่งยาน PACE ศึกษามหาสมุทรและบรรยากาศของโลกจากอวกาศ

NASA เตรียมส่งภารกิจ PACE เดินทางขึ้นสู่อวกาศในวันที่ 6 กุมภาพันธ์ เพื่อศึกษาและสำรวจมหาสมุทรและบรรยากาศโลกจากวงโคจร   นอกจากภารกิจสำรวจดวงจันทร์ ดาวเคราะห์ต่างๆ รวมถึงเป้าหมายที่อยู่ไกลออกไปในระบบดาวดวงอื่นแล้ว NASA ยังมีฝูงยานอวกาศสำหรับภารกิจศึกษาโลก ดาวเคราะห์เพียงหนึ่งเดียวที่ชีวิตดำรงอยู่ได้ และบ้านหลังเดียวของมนุษยชาติ เช่นเดียวกั...
1 กุมภาพันธ์ 2024

GISTDA สาธิตการนำเทคโนโลยีดาวเทียมมาวิเคราะห์ข้อมูลนักบอลในแมตช์เชียงรายพบแทกู

สำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน) หรือ GISTDA ทดสอบนำเทคโนโลยี ‘Digitalyst’ ที่ติดตามตำแหน่งของนักเตะในสนามผ่านระบบ GNSS มาวิเคราะห์ประสิทธิภาพของนักฟุตบอลอาชีพ ในเกมอุ่นเครื่องระหว่างเชียงราย ยูไนเต็ด พบกับ แทกู เอฟซี จากประเทศเกาหลีใต้   อุปกรณ์ดังกล่าวได้ถูกติดตั้งไว้ภายในเสื้อของนักฟุตบอล โดยอาศัยการจับสัญญาณจ...
1 กุมภาพันธ์ 2024

นักวิจัยไทยพบ 13 กาแล็กซีในยุคแรกเริ่มของเอกภพ จากข้อมูลกล้องเจมส์ เว็บบ์

ดร.ณิชา ลีโทชวลิต นักวิจัยของสถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ หรือ NARIT ได้นำทีมคณะนักดาราศาสตร์นานาประเทศตรวจพบกาแล็กซีมวลน้อยเพิ่มอีก 13 แห่งที่มีอยู่ตั้งแต่เอกภพ มีอายุเพียง 550-700 ล้านปี   งานวิจัยดังกล่าวได้ศึกษาข้อมูลจากกล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์ เว็บบ์ ภายใต้โครงการวิจัย GLASS-JWST-ERS เพื่อตรวจหากาแล็กซียุคแรกเริ่มของเอกภพ ที่กำเนิด...
30 มกราคม 2024

NASA เผยภาพ 19 กาแล็กซีกังหันสุดคมชัด จากข้อมูลล่าสุดกล้องเจมส์ เว็บบ์

NASA เผยภาพชุดใหม่ของกาแล็กซีกังหัน 19 แห่ง ที่หันด้านหน้าเข้าหาโลก (Face-on Spiral Galaxy) จากข้อมูลล่าสุดของกล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์ เว็บบ์   นักดาราศาสตร์ศึกษากาแล็กซีประเภทนี้ด้วยข้อมูลจากกล้องโทรทรรศน์ต่างๆ เช่น กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล, กล้อง VLT (Very Large Telescope) และกล้อง ALMA (Atacama Large Millimeter/submillimeter Array) ...
การโคลนนิ่ง
28 มกราคม 2024

หรือการโคลนนิ่งมนุษย์คือก้าวต่อไป? หลังความสำเร็จ​ในการโคลนนิ่งลิง

‘เรโทร’ (Retro)​ คือชื่อของลิงวอก (Macaca mulatta) เพศผู้ ซึ่งเป็น​สัตว์ในกลุ่มวานรหรือไพรเมตสายพันธุ์ล่าสุดที่ประสบความสำเร็จ​จากการโคลนนิ่ง โดยเจ้าจ๋อเรโทร​นี้ถือกำเนิดขึ้นในจีนเมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม​ 2020 จวบจนบัดนี้​ผ่านไป 3 ปีแล้วยังคงมีสุขภาพดี   การโคลนนิ่งเจ้าจ๋อเรโทรเดินตามรอยไพรเมตรุ่นพี่ต่างสายพันธุ์​ 2 ตัว นั่นคือ ‘จงจง’ (中中)...

MOST POPULAR

Close Advertising