×

Science

13 ธันวาคม 2022

สื่อนอกเผย สหรัฐฯ เตรียมประกาศความสำเร็จครั้งสำคัญด้านนิวเคลียร์ฟิวชัน สร้างความหวังสู่พลังงานสะอาด

วานนี้ (12 ธันวาคม) สื่อต่างประเทศหลายสำนัก เช่น CNN, Reuters และ AFP รายงานโดยอ้างแหล่งข่าวใกล้ชิดว่า กระทรวงพลังงานของสหรัฐอเมริกาเตรียมประกาศความสำเร็จครั้งสำคัญ หลังนักวิทยาศาสตร์จากห้องทดลองแห่งชาติประสบความสำเร็จในการทดลองด้านปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิวชัน ซึ่งจะนำไปสู่การผลิตพลังงานสะอาดที่มีราคาถูกได้ในอนาคต   แหล่งข่าวรายหนึ่งเปิดเผย...
12 ธันวาคม 2022

แคปซูลอวกาศโอไรออนกลับสู่พื้นโลกแล้ว หลังโคจรรอบดวงจันทร์แบบไม่ลงจอด สิ้นสุดภารกิจ Artemis I

วานนี้ (11 ธันวาคม) ตามเวลาท้องถิ่น แคปซูลอวกาศโอไรออน (Orion) กลับสู่พื้นโลกอย่างปลอดภัยแล้ว โดยตกลงสู่มหาสมุทรแปซิฟิก บริเวณนอกชายฝั่งบาฮากาลิฟอร์เนียของเม็กซิโก ซึ่งอยู่ไม่ไกลจากพรมแดนสหรัฐอเมริกา หลังโคจรรอบดวงจันทร์แบบไม่ลงจอดได้สำเร็จ เสร็จสิ้นภารกิจ Artemis I ขององค์การ NASA   ยานโอไรออนนี้พุ่งทะยานขึ้นสู่ห้วงอวกาศพร้อมกับจรวดขนส่...
NASA
30 พฤศจิกายน 2022

NASA ยกเลิกโครงการดาวเทียมตรวจจับก๊าซเรือนกระจก เหตุสู้ค่าใช้จ่ายไม่ไหว

วานนี้ (29 พฤศจิกายน) องค์การบริหารการบินและอวกาศแห่งชาติ หรือ NASA ประกาศยกเลิกแผนพัฒนาดาวเทียมสำหรับตรวจสอบการปล่อยก๊าซเรือนกระจกในสหรัฐอเมริกา เนื่องจากมีต้นทุนค่าใช้จ่ายสูงกว่าที่คาดการณ์ไว้มหาศาล และมีความซับซ้อนอย่างมาก โดยระบุว่าจะใช้แนวทางอื่นในการสังเกตการณ์แทน   NASA ระบุว่า ภารกิจ GeoCarb ซึ่งในเบื้องต้นตั้งใจให้เป็นดาวเทียมต้...
29 พฤศจิกายน 2022

จีนเตรียมส่งนักบินพร้อมยานเสินโจว-15 ทะยานสู่ห้วงอวกาศคืนนี้

วานนี้ (28 พฤศจิกายน) องค์การอวกาศจีน (China Manned Space Agency) เปิดเผยว่า จีนเตรียมปล่อยยานอวกาศเสินโจว-15 พร้อมด้วยนักบินอวกาศ 3 คนไปยังสถานีอวกาศในเวลา 23.08 น. ของวันนี้ (29 พฤศจิกายน) ตามเวลาท้องถิ่น หรือ 22.08 น. ตามเวลาประเทศไทย    นักบินอวกาศชายทั้ง 3 คนที่จะเดินทางไปปฏิบัติภารกิจกับยานเสินโจว-15 ได้แก่ เฟ่ยจวิ้นหลง (Fei J...
เจมส์ เว็บบ์
17 พฤศจิกายน 2022

เจมส์ เว็บบ์ ปล่อยภาพนาฬิกาทรายจักรวาล เผยช่วงเวลาก่อกำเนิดดาวฤกษ์

วานนี้ (16 พฤศจิกายน) กล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์ เว็บบ์ ได้ปล่อยภาพของห้วงอวกาศที่ดูตื่นตาราวกับนาฬิกาทรายสีเพลิง โดยเป็นภาพบริเวณของ ‘ดาวฤกษ์ก่อนเกิด’ หรือ Protostar ที่มีชื่อว่า L1527 ซึ่งถ่ายด้วยอุปกรณ์ NIRCam ของกล้องโทรทรรศน์อวกาศตัวนี้   ใจกลางภาพที่ดูเหมือนกับส่วนคอขวดคือจุดก่อเกิดของดาวฤกษ์ ซึ่งอยู่บนท้องฟ้าบริเวณกลุ่มดาววัว (Tauru...
Gaia BH1
7 พฤศจิกายน 2022

พบ ‘Gaia BH1’ หลุมดำที่อยู่ใกล้โลกที่สุดเท่าที่เคยเจอมา

ในจักรวาลมีเทหวัตถุที่น่าสนใจมากมาย หนึ่งในนั้นคือ ‘หลุมดำ’ เทหวัตถุทรงพลังที่แม้แต่แสงก็หนีออกมาจากแรงโน้มถ่วงอันมหาศาลของมันไม่ได้   ล่าสุดทีมงานของ ดร.คารีม เอล-บาดรี จากศูนย์ดาราศาสตร์ฟิสิกส์มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ดและสมิธโซเนียน ได้ประกาศการค้นพบหลุมดำชนิดมวลดาวฤกษ์ที่มีตำแหน่งอยู่ใกล้โลกมากที่สุด ทำลายสถิติของทุกหลุมนับจากอดีตที่ผ่านมา...
เจมส์ เว็บบ์
29 ตุลาคม 2022

เจมส์ เว็บบ์ ปล่อยภาพเสาแห่งการก่อกำเนิด เวอร์ชันชวนขนลุก รับวันฮาโลวีน

วานนี้ (28 ตุลาคม) NASA ได้ปล่อยภาพ ‘เสาแห่งการก่อกำเนิด’ เวอร์ชันใหม่จากกล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์ เว็บบ์ ซึ่งมาในโทนสีส้ม-เทา ดูน่าเกรงขามราวกับเงื้อมมือของปีศาจยักษ์ เข้ากับบรรยากาศของเทศกาลฮาโลวีนที่กำลังจะมาถึงนี้   หลายคนอาจจะรู้สึกคุ้นๆ กับภาพนี้ นั่นเพราะเมื่อวันที่ 19 ตุลาคม NASA เคยปล่อยภาพเวอร์ชันแรกจากเจมส์ เว็บบ์ไปแล้ว โดยในเว...
27 ตุลาคม 2022

เจมส์ เว็บบ์ ปล่อยภาพ ‘กาแล็กซีชนกัน’ ก่อกำเนิดดาวฤกษ์ใหม่เร็วกว่าทางช้างเผือก 20 เท่า

เมื่อวันอังคารที่ผ่านมา (25 ตุลาคม) กล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์ เว็บบ์ ได้ปล่อยภาพของ IC 1623 ซึ่งเป็นสองกาแล็กซีที่กำลังชนกัน โดยอยู่ห่างจากโลกของเราออกไปราว 270 ล้านปีแสงในกลุ่มดาวซีตัส (กลุ่มดาววาฬ)   การหลอมรวมกันของดาราจักรทั้งสองนี้ ได้ก่อให้เกิดดาวฤกษ์ใหม่จำนวนมากอย่างรวดเร็ว จากปฏิกิริยาที่เรียกว่า Starburst โดยอัตราการเกิดใหม่ของดว...
20 ตุลาคม 2022

NASA ปล่อยภาพ ‘เสาแห่งการก่อกำเนิด’ ผลงานน่าทึ่งจากกล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์ เว็บบ์

วานนี้ (19 ตุลาคม) NASA ได้ปล่อยภาพ ‘เสาแห่งการก่อกำเนิด’ (Pillars of Creation) เวอร์ชันล่าสุดที่ถ่ายโดยกล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์ เว็บบ์ ซึ่งเผยให้เห็นรายละเอียดที่คมชัดมากกว่าเดิมหลายเท่า เมื่อเทียบกับภาพแรกอันโด่งดังที่ถ่ายด้วยกล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลเมื่อปี 1995   โดยภาพเสาแห่งการก่อกำเนิดนี้ เป็นภาพกลุ่มแก๊สและกลุ่มฝุ่นขนาดมหึมาที่ล...
ธารน้ำแข็งละลาย
19 ตุลาคม 2022

วิจัยเผย โลกอาจเผชิญโรคระบาดใหม่ จากเหตุธารน้ำแข็งละลาย หลังนักวิทย์พบไวรัสหลายชนิดฝังตัวในน้ำแข็ง

งานวิจัยล่าสุดเปิดเผยว่า โรคระบาดใหญ่ที่โลกของเราอาจต้องเผชิญรอบใหม่ อาจไม่ได้มาจากค้างคาวหรือสัตว์ปีก แต่อาจมาจากเหตุธารน้ำแข็งละลาย หลังนักวิทยาศาสตร์ได้นำดินและตะกอนในทะเลสาบฮาเซน ซึ่งเป็นทะเลสาบน้ำจืดอาร์กติกที่ใหญ่ที่สุดในโลก มาทำการวิเคราะห์ทางพันธุกรรม และพบความเสี่ยงที่เชื้อไวรัสที่เคยฝังตัวอยู่ในน้ำแข็งจะแพร่กระจายไปยังโฮสต์ชนิดใหม่ที่เป็น...

MOST POPULAR


Close Advertising