×

News

5 มิถุนายน 2017

หุ่นยนต์จะกลืนชาติ!? ดร. มหิศร ว่องผาติ มองโอกาสและวิกฤติของอุตสาหกรรมหุ่นยนต์ไทยในยุค 4.0

     หุ่นยนต์อาจโลดแล่นแค่ในจินตนาการของใครหลายคน แต่วันนี้เรากำลังเข้าสู่ยุคที่หุ่นยนต์ทำงานแทนคน โดยเฉพาะรูปแบบงานที่ต้องทำซ้ำๆ และอาศัยความแม่นยำสูง จากรายงานปี 2016 โดย International Federation of Robotics (IFR) ชี้ว่าช่วงปี 2010-2014 ยอดขายหุ่นยนต์อุตสาหกรรมเพิ่มขึ้นถึง 27% ในทุกกลุ่มอุตสาหกรรม (ยกเว้นยานยนต์และเครื่องใช้ไฟฟ้า/อ...
5 มิถุนายน 2017

ทำไมโรเจอร์ เฟเดอเรอร์ จึงถอนตัวจากเฟรนช์ โอเพ่น วิธีบริหารความสำเร็จในวัยใกล้เกษียณของนักเทนนิสระดับโลก

     “Success is a lousy teacher. It seduces smart people into thinking they can’t lose”      “ความสำเร็จคือครูที่ล่อลวงให้คนฉลาดคิดว่าตัวเองไม่มีวันแพ้ได้”      นี่คือประโยคที่บิล เกตส์ เศรษฐีพันล้านและผู้ร่วมก่อตั้งไมโครซอฟต์เคยพูดไว้กับโรเจอร์ เฟเดอเรอร์ ในวันที่เขาลงสนามเพื่...
5 มิถุนายน 2017

สื่อจะอยู่รอดได้อย่างไร? สถิติ และความเป็นไปได้กับ ขจร เจียรนัยพานิชย์ แห่ง Mango Zero

     เราค่อนข้างประหลาดใจ เมื่อ เอ็ม-ขจร เจียรนัยพานิชย์ ผู้ก่อตั้ง mangozero.com เว็บไซต์ข่าวเชิงไลฟ์สไตล์แนว Social Creative News บอกว่า หลังจากเปิดเว็บได้เพียง 4 เดือน ตอนนี้เว็บของเขาหารายได้เลี้ยงบริษัทได้ทั้งปีแล้ว      ‘สื่อออนไลน์กำลังอยู่ในยุคที่บูมที่สุด’ ขจรหรือที่ชาวเน็ตรู้จักในชื่อ @khajochi บอกกับเราเช...
5 มิถุนายน 2017

‘คอนเน็กชัน ระบบหลังบ้าน การสร้างประสบการณ์’ ส่วนผสมที่ทำให้ Camp กลายเป็นมากกว่ามัลติแบรนด์สโตร์

     ไม่ว่าคุณจะเรียกตัวเองว่าขาช้อป นักช้อป เซียนช้อป ฯลฯ เราเชื่อว่าน้อยคนนักที่จะไม่รู้จักมัลติแบรนด์สโตร์ชื่อ Camp ซึ่งเกิดขึ้นจากการรวมตัวกันของหุ้นส่วน 2 กลุ่มใหญ่เมื่อช่วงกลางปีที่แล้ว (มิถุนายน พ.ศ. 2559) ทั้งจากฝั่งที่มีประสบการณ์ในการจัด flea market รวบรวมแบรนด์ออนไลน์มาขายสินค้าอย่างกลุ่มผู้จัดงาน LOL Market และกลุ่มผู้จัด...
5 มิถุนายน 2017

เทคโนโลยี VAR ‘ผู้ตัดสินวิดีโอ’ ฮีโร่หรือผู้ทำลายเสน่ห์เกมกีฬา?

     ฟุตบอลยุโรปประจำฤดูกาล 2016-2017 ต่างก็ได้บทสรุปเป็นที่เรียบร้อย แต่สิ่งที่คนในวงการฟุตบอลกำลังเฝ้าติดตามต่อจากนี้คือการนำเทคโนโลยี VAR (Video Assistant Referee) หรือ ‘ผู้ตัดสินวิดีโอ’ ที่ฟีฟ่าเตรียมใช้ในศึกฟุตบอลโลก 2018 ที่ประเทศรัสเซียมาใช้   จานนี่ อินฟานติโน่ ประธานสหพันธ์ฟุตบอลนานาชาติหลังการแถลงข่าวทดลองการ...
5 มิถุนายน 2017

“ภาครัฐต้องเก็บภาษีออนไลน์จากเฟซบุ๊กและกูเกิล” ภาวุธ พงษ์วิทยภานุ วิเคราะห์ Social Commerce ก่อนก้าวสู่ไทยแลนด์ 4.0

      เมื่อเทคโนโลยีกำลังแทรกซึมเข้ามามีส่วนร่วมในทุกช่องทางการใช้ชีวิตของมนุษย์ สิ่งหนึ่งที่เปลี่ยนแปลงไปไม่น้อยคือ พฤติกรรมการซื้อขายสินค้าออนไลน์ ทั้งฝั่งผู้บริโภคเองที่เริ่มหันมาช้อปปิ้งสินค้าออนไลน์มากขึ้น ฟากฝั่งผู้ผลิตทั้งหน้าเก่าหรือเหล่า SMEs รายใหม่ก็เริ่มจับตลาดออนไลน์เป็นช่องทางหลักไม่แพ้กัน       ป้อม-ภ...
5 มิถุนายน 2017

ปีทอง (อีกครั้ง) ของ คริสเตียโน โรนัลโด

     คริสเตียโน โรนัลโด (Cristiano Ronaldo) รักษาตำแหน่งศูนย์หน้าที่อันตรายที่สุดในยุโรปได้อีกครั้ง ด้วยการเป็นนักฟุตบอลคนแรกที่ยิงได้มากกว่า 50 ประตูในศึกยูฟ่า แชมเปียนส์ลีก (โรนัลโดยิงไปทั้งหมด 54 ประตู) 8 ประตูจาก 2 แฮตทริกในรอบ 8 ทีมสุดท้ายและรอบรองชนะเลิศ      และยิงไปแล้ว 105 ประตูในศึกฟุตบอลยูฟ่า แชมเปียนส์ลี...
5 มิถุนายน 2017

รู้ไหมผมลูกใคร? ชำแหละ ‘ตระกูลการเมือง’ สืบทอด-ผูกขาด-สูญพันธุ์ ในวัฏจักรประชาธิปไตยไทย

     ปี พ.ศ. 2560 เป็นปีที่ 85 ของอายุประชาธิปไตยไทย นับตั้งแต่มีการเปลี่ยนแปลงการปกครองโดยคณะราษฎร ประวัติศาสตร์บันทึกเอาไว้ว่าเริ่มต้นในวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475      ในห้วงเวลาที่อายุของประชาธิปไตยผันผ่านมานี้ มีเหตุการณ์เกิดขึ้นมากมาย ท้าทายความเปลี่ยนแปลงอยู่ทุกขณะ โดยเฉพาะรูปแบบประชาธิปไตยแบบตัวแทนของไทย ที...
5 มิถุนายน 2017

“วงการไลฟ์โค้ชเหมือนฟองสบู่ที่รอวันระเบิด” ชำแหละไลฟ์โค้ชแบบวิสูตร แสงอรุณเลิศ

     ‘อกหัก ขึ้นคาน ตกงาน เป็นหนี้ พ่อแม่แยกทาง ทะเลาะกับเพื่อน เจ้านายไม่เห็นค่า ฯลฯ’ เชื่อว่าทุกช่วงชีวิตของมนุษย์ทุกคนต่างเคยประสบปัญหาเหล่านี้ บางครั้งบางคราวที่ปัญหาเรื้อรังขึ้นนานวันจนทำให้สุขภาพจิตเสื่อมลง อาชีพอย่างจิตแพทย์ ผู้ให้คำปรึกษา หรือไลฟ์โค้ช จึงเกิดขึ้นมาเพื่อตอบสนองความทุกข์ดังกล่าว      สำหรับ บอ...
5 มิถุนายน 2017

จะปรองดองต้องคิดนอกกรอบ เอนก เหล่าธรรมทัศน์ กับข้อเสนอ ‘รัฐบาลผสม’ เพื่อการปรองดองแห่งชาติ

     สองทศวรรษที่แล้ว ศ. ดร. เอนก เหล่าธรรมทัศน์ ให้กำเนิดทฤษฎี ‘สองนคราประชาธิปไตย’ เพื่ออธิบายปรากฏการณ์ความขัดแย้งของการเมืองไทยในช่วง พ.ศ. 2533-2536 สะท้อนแนวคิดทางประชาธิปไตยที่แตกต่างกันระหว่างคนชนบทและชนชั้นกลางจนเกิดวาทกรรม ‘คนชนบทตั้งรัฐบาล คนชั้นกลางล้มรัฐบาล’      ถึงวันนี้ ‘สองนคราประชาธิปไตย’ ยังคงอธิบ...

MOST POPULAR


Close Advertising