×

ดร.วรรณพงษ์ ดุรงคเวโรจน์

20 สิงหาคม 2024

Best Timing ทบทวนนโยบาย Digital Wallet

หลังจากที่ แพทองธาร ชินวัตร ขึ้นเป็นนายกรัฐมนตรีคนที่ 31 ของไทยอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 18 สิงหาคม 2567 คำถามสำคัญที่ตามมาคือ รัฐบาลใหม่ภายใต้การนำของแพทองธารจะยังคงเดินหน้าโครงการสำคัญๆ ที่พรรคเพื่อไทยเคยหาเสียงและอยู่ระหว่างดำเนินการหรือไม่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งโครงการดิจิทัลวอลเล็ต (Digital Wallet) ที่ปัจจุบันมียอดผู้ลงทะเบียนทั่วประเทศแล้วกว่า 30...
25 มิถุนายน 2024

4 เมกะเทรนด์ ปฏิวัติเศรษฐกิจโลก: ความท้าทายที่ภาครัฐและภาคเอกชนต้องจับตา

เมื่อเร็วๆ นี้ ผมได้รับเชิญจากวารสารวิชาการ Economic Record ให้เขียนบทวิจารณ์หนังสือ (Book Review) เล่มหนึ่งที่มีชื่อว่า The Future of the Factory: How Megatrends are Changing Industrialization แต่งโดย Jostein Hauge นักเศรษฐศาสตร์การเมืองของมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ หนังสือเล่มนี้พูดถึง 4 ความท้าทายที่เศรษฐกิจโลกกำลังเผชิญ และอธิบายถึงนัยสำคัญต่อนโยบายอ...
Digital Wallet
17 เมษายน 2024

Digital Wallet: งานวิจัยทางเศรษฐศาสตร์เรื่องหนี้สาธารณะกับการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ

จนถึงวันนี้ ไม่ว่าผู้อ่านจะเห็นด้วยหรือไม่กับโครงการดิจิทัลวอลเล็ต (Digital Wallet) ของรัฐบาลภายใต้การนำของ เศรษฐา ทวีสิน การเดินหน้าต่อของโครงการดังกล่าวคงสร้างผลกระทบไม่มากก็น้อยต่อผู้อ่าน ไม่ว่าในฐานะของผู้บริโภคหรือผู้ขายสินค้า   ที่ผ่านมาหนึ่งในข้อกังวลหลักของนักเศรษฐศาสตร์ต่อโครงการดิจิทัลวอลเล็ตคือผลกระทบต่อหนี้สาธารณะ (Public Deb...
3 พฤศจิกายน 2023

ดิจิทัลวอลเล็ต: จุดรั่วไหล (Leakage) ของตัวคูณทางการคลัง (Fiscal Multiplier) จากเศรษฐกิจไทยที่ขับเคลื่อนด้วยโลกาภิวัตน์

นโยบายกระเป๋าเงินดิจิทัล (Digital Wallet) เป็นหนึ่งในนโยบายเศรษฐกิจของรัฐบาลเศรษฐา 1 ซึ่งมีเดิมพันสูง เนื่องจากเป็นนโยบายที่พรรคเพื่อไทยได้หาเสียงไว้ในการเลือกตั้ง และเป็นนโยบายที่มีต้นทุนสูง เกี่ยวข้องกับเรื่องปากท้องของประชาชนในวงกว้าง บทความนี้นำเสนอจุดรั่วไหล (Leakage) ของค่าตัวคูณทางการคลัง (Fiscal Multiplier) ที่เกิดมาจากโครงสร้างของเศรษฐกิจไ...
เบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ
18 สิงหาคม 2023

เบี้ยยังชีพผู้สูงอายุปี 2566: จาก ‘แก่ก่อนรวย’ สู่ ‘แก่ด้วย จนด้วย’

ในช่วง 2-3 วันที่ผ่านมา คงไม่มีประเด็นใดที่ร้อนแรงไปกว่าการปรับหลักเกณฑ์เบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ ที่ในอนาคตเบี้ยยังชีพนี้จะถูกสงวนไว้ให้เฉพาะผู้สูงอายุที่ยากจน ทิศทางของนโยบายดังกล่าวสะท้อนความยากจนทางความคิดของผู้กำหนดนโยบาย เพราะกำลังทำให้สังคมไทยที่อยู่ในสภาวะ ‘แก่ก่อนรวย’ กลายเป็น ‘แก่ด้วย จนด้วย’    ข้อถกเถียงทางวิชาการโดยเฉพาะในก...
เศรษฐศาสตร์กับการล้างหนี้ กยศ.
9 กันยายน 2022

เศรษฐศาสตร์กับการล้างหนี้ กยศ. เมื่อต้นตอของปัญหาคือความยากจนของนักเรียนไทย

บทความนี้นำเสนอมุมมองด้านเศรษฐศาสตร์ต่อกระแสการล้างหนี้กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา ( กยศ. ) การล้างหนี้ไม่เพียงช่วยเหลือนักเรียนจากครอบครัวยากจน แต่ยังแก้ไขปัญหาระบบการชำระหนี้และการเบี้ยวหนี้ของกองทุน กยศ. บทความนี้จะอธิบายว่าทำไมผมถึงคิดเช่นนั้น    กระแส #ล้างหนี้กยศ ในช่วง 2 สัปดาห์ที่ผ่านมา ได้รับความสนใจจากประชาชนเป็นอย่าง...
ผู้สูงอายุ
22 มกราคม 2022

สังคมสูงวัย: ผลกระทบต่อผู้ประกอบการ การปรับตัว และบทบาทของภาครัฐ

หนึ่งในความท้าทายทางด้านเศรษฐกิจของไทยในปัจจุบันคือ การเข้าสู่สังคมสูงวัย แม้จะไม่ใช่เรื่องใหม่ แต่สัดส่วนของผู้สูงอายุหรือประชากรที่มีอายุมากกว่า 60 ปีที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ได้ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจในหลายๆ ด้าน ไม่ว่าจะเป็นการขาดแคลนกำลังแรงงานที่จำเป็นต่อภาคเศรษฐกิจจริง การออมและการลงทุน รวมถึงภาระทางการคลังของรัฐบาลในอนาคต ทั้งหมดนี้ส่งผลกระ...
thai-education
13 พฤศจิกายน 2021

เด็กฉลาด ชาติเจริญ: จะฉลาดอย่างไรในวันที่ต้องเรียนออนไลน์

การกลับมาเปิดโรงเรียนแบบออนไซต์นับตั้งแต่วันที่ 1 พฤศจิกายน 2564 เป็นต้นมา คือหมุดหมายสำคัญของนโยบายการศึกษาของไทยในช่วงการระบาดของโรคโควิด แม้ที่ผ่านมาการเรียนออนไลน์คือทางเลือกและทางรอดของสถาบันการศึกษา แต่ผลกระทบของมันอาจมากกว่าแค่ ‘เรียนไม่รู้เรื่อง’ บทความนี้พาไปสำรวจงานวิจัยที่ศึกษาผลกระทบของการเรียนออนไลน์ว่าสามารถทำให้ ‘เด็กฉลาด’ ได้หรือไม่...
กระแสทวนกลับของโลกาภิวัตน์และอนาคตของห่วงโซ่มูลค่าโลก
2 พฤษภาคม 2021

กระแสทวนกลับของโลกาภิวัตน์และอนาคตของห่วงโซ่มูลค่าโลก

หนึ่งใน ‘คำ’ ที่ถูกพูดถึงมากที่สุดในช่วง 2-3 ทศวรรษที่ผ่านมาคือ ‘โลกาภิวัตน์’ (Globalization) ความนิยมและแพร่หลายของคำนี้สะท้อนได้จากแนวโน้มของคำว่า Globalization จาก Google Ngram Viewer โดยเฉพาะหลังจากปี 1980   ความหมายของโลกาภิวัตน์ไม่ได้จำกัดอยู่แค่การค้าขายระหว่างกันเท่านั้น แต่ยังรวมถึงการเคลื่อนย้ายเงินทุนและการอพยพย้ายถิ่นของคน แต...
12 พฤศจิกายน 2020

ถ้าการศึกษาไทยดี ทำไมต้องเรียนพิเศษ: เมื่อความเหลื่อมล้ำจู่โจมการศึกษา

‘ถ้าการศึกษาไทยดี ทำไมต้องเรียนพิเศษ’ คำถามนี้เกิดขึ้นซ้ำๆ บ่อยๆ เมื่อเราพูดถึงปัญหาการศึกษาไทยกับการเรียนพิเศษ   การเรียนพิเศษ คือการเรียนการสอนนอกห้องเรียนเพื่อเติมหรือเสริม (Supplement) การเรียนแบบปกติจากในห้องเรียน ถือเป็น ‘บริการ’ รูปแบบหนึ่ง บางคนก็อาจเรียกการเรียนพิเศษว่าเป็น ‘Shadow Education’    การเรียนพิเศษอาจจ...


X