×

ศราวุฒิ อารีย์

ปาเลสไตน์
5 กรกฎาคม 2023

ปาเลสไตน์ในความสนใจของจีน ปักกิ่งจะได้อะไรจากสันติภาพตะวันออกกลาง

การเคลื่อนไหวทางการทูตและการฟื้นความสัมพันธ์ระหว่างประเทศต่างๆ ภายในภูมิภาคตะวันออกกลางนับเป็นกระแสการเปลี่ยนแปลงในปัจจุบันที่สำคัญ ตัวแสดงที่เคยมีปัญหาขัดแย้งกันได้เปลี่ยนจุดยืนหันมาเจรจาพูดคุยจนทำให้สถานการณ์ในภูมิภาคลดความร้อนแรงลง ไม่เหมือนบรรยากาศการเผชิญหน้าที่เคยเกิดขึ้นตลอดช่วงเวลากว่า 1 ทศวรรษที่ผ่านมา    การปรับตัวเข้าหากั...
อิหร่าน-ซาอุดีอาระเบีย
11 มีนาคม 2023

อิหร่าน-ซาอุดีอาระเบียฟื้นฟูสัมพันธ์ มีนัยสำคัญอะไรต่อตะวันออกกลางและโลก

ข่าวอิหร่าน-ซาอุดีอาระเบียประกาศฟื้นฟูความสัมพันธ์ทางการทูตระหว่างกันเมื่อวันที่ 10 มีนาคม 2023 ภายหลังเจรจากันประมาณ 4 วันในกรุงปักกิ่ง ประเทศจีน นับเป็นข่าวใหญ่ที่มีนัยสำคัญต่อภูมิภาคตะวันออกกลางและสถานการณ์การแข่งขันของมหาอำนาจโลก   การที่คู่ขัดแย้งสำคัญในภูมิภาคตะวันออกกลางสามารถตกลงที่จะเปิดสถานทูตระหว่างกันในอีก 2 เดือนข้างหน้า หลั...
12 สิงหาคม 2022

เจนินสำคัญอย่างไร ทำไมกลายเป็นศูนย์กลางต่อต้านการยึดครองของอิสราเอลในปาเลสไตน์

“มันไม่ใช่ความจริงที่ชาวอาหรับเกลียดชังชาวยิวเพราะเหตุผลส่วนตัว เชื้อชาติ หรือศาสนา พวกเขามองพวกเรา (ซึ่งก็ถูกต้องตามความเห็นของพวกเขา) ว่าพวกเราเป็นพวกตะวันตก พวกต่างชาติ หรือแม้แต่พวกบุกรุกที่เข้ามายึดดินแดนอาหรับเพื่อที่จะสร้างรัฐยิว ในเมื่อเราขณะนี้จำต้องทำตามเป้าหมายของเรา ซึ่งขัดกับความปรารถนาของชาวอาหรับ เราก็คงต้องอยู่กับภาวะสงครามตลอดไป” -...
9/11
10 กันยายน 2021

20 ปีเหตุการณ์ 9/11 สู่ ‘การปะทะกันทางอารยธรรม’ และโลกที่ไร้พื้นที่สำหรับทางสายกลาง

แม้จะผ่านพ้นไป 20 ปีแล้ว แต่โลกก็ไม่อาจลืมเลือนเหตุการณ์วินาศกรรมครั้งใหญ่ที่เกิดขึ้นในสหรัฐอเมริกาเมื่อวันที่ 11 กันยายน 2001 หรือที่เรียกกันย่อๆ ว่า เหตุการณ์ 9/11 ซึ่งเป็นเหตุการณ์ที่ทั้งโลกต้องตื่นตระหนก เมื่อผู้ก่อการได้จี้เครื่องบินจำนวน 4 ลำ โดยเครื่องบิน 2 ลำแรกถูกจี้บังคับให้พุ่งชน ‘ตึกแฝดเวิลด์เทรดเซ็นเตอร์’ ในนครนิวยอร์ก อีก 1 ...
ความขัดแย้งอิสราเอล-อิหร่าน: สงครามลับในสมรภูมิไร้พรมแดน ไทยต้องเฝ้าระวังแค่ไหน
2 ธันวาคม 2020

ความขัดแย้งอิสราเอล-อิหร่าน: สงครามลับในสมรภูมิไร้พรมแดน ไทยต้องเฝ้าระวังแค่ไหน

ปลายเดือนพฤศจิกายนที่ผ่านมาเป็นช่วงเวลาที่เกิดเหตุการณ์อย่างน้อย 3 เหตุการณ์อันสัมพันธ์กับสถานการณ์ความตึงเครียดระหว่างอิหร่านกับอิสราเอล เหตุการณ์แรกคือข่าวที่กองกำลังป้องกันอิสราเอล (IDF) ได้ออกแถลงการณ์ยอมรับว่าตนเองได้ใช้ปฏิบัติการทางอากาศโจมตีเป้าหมายหน่วยรบพิเศษคุดส์ (Quds) ของอิหร่านในประเทศซีเรียเมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายน    ต...
นโยบายสหรัฐฯ ในตะวันออกกลางหลังเลือกตั้ง
28 ตุลาคม 2020

เหมือนเดิมหรือแตกต่าง? มองข้ามช็อตนโยบายสหรัฐฯ ในตะวันออกกลางหลังเลือกตั้ง

การเลือกตั้งสหรัฐฯ ที่กำลังจะเกิดขึ้นในวันที่ 3 พฤศจิกายนนี้ เป็นเรื่องที่ประชาคมโลกต่างให้ความสนใจและเฝ้าติดตามอย่างใกล้ชิด เพราะไม่ว่า โดนัล ทรัมป์ จากพรรครีพับลิกันจะได้รับชัยชนะกลับมาเป็นประธานาธิบดีสหรัฐฯ อีกสมัย หรือ โจ ไบเดน ผู้สมัครจากพรรคเดโมเครต จะคว้าชัยขึ้นมาเป็นประธานาธิบดีสหรัฐฯ คนใหม่ ล้วนมีผลต่อสถานการณ์ความเป็นไปของโลกทั้งสิ้น รวมถ...
22 กันยายน 2020

Abraham Accords: 4 เหตุผล ทำไม ‘ข้อตกลงสันติภาพ’ อาจทำลายสันติภาพในตะวันออกกลาง

วันที่ 13 กันยายน 2020 ถือเป็นวันสำคัญอีกวันหนึ่งของประวัติศาสตร์การเมืองตะวันออกกลาง เพราะเป็นวันที่อิสราเอล สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ (UAE) และบาห์เรน ได้ลงนามข้อตกลงสันติภาพระหว่างกัน หรือที่เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า ‘ข้อตกลงอับราฮัม’ (Abraham Accords) โดยมีประธานาธิบดีโดนัลด์ ทรัมป์ ของสหรัฐฯ เป็นประธานในพิธี    ข้อตกลงสันติภาพดังกล่าวนี้...
24 กรกฎาคม 2020

อิหร่าน-จีน กับ ‘ดีล 25 ปี’ จับตาความร่วมมือรอบด้านที่อาจเปลี่ยนดุลอำนาจในตะวันออกกลาง

สโลแกนหนึ่งของอิหร่านหลังการปฏิวัติปี 1979 อันเป็นที่กล่าวถึงกันอย่างกว้างขวางคือประโยคที่ว่า ‘ไม่เอาทั้งตะวันออกและตะวันตก’ (Neither East, Nor West) ซึ่งถือเป็นแนวทางด้านการต่างประเทศสำคัญของ อยาตุลลอฮ์ โคมัยนี ผู้นำการปฏิวัติอิหร่าน ที่พยายามวาง ‘ตำแหน่งแห่งที่’ ของอิหร่านท่ามกลางการแข่งขันระหว่างสหรัฐฯ และอดีตสหภาพโซเวียตในยุคสงครามเย็น  ...
2 มีนาคม 2020

‘อิดลิบ’ สมรภูมิสุดท้ายกับสภาวะ ‘มหาอำนาจหลายขั้ว’ ในตะวันออกกลาง

สงครามกลางเมืองซีเรียที่ยืดเยื้อมากว่า 9 ปีแล้วนั้น ไม่ได้เป็นเพียงการต่อสู้กันระหว่างกองกำลังฝ่ายต่างๆ ภายในประเทศเท่านั้น แต่ยังเป็นสนามแข่งขันระหว่างตัวแสดงจากภายนอกอีกด้วย ระยะหลังกองทัพรัฐบาลซีเรีย ซึ่งหนุนหลังโดยรัสเซียและอิหร่าน สามารถรุกคืบยึดคืนดินแดนได้เกือบทั้งประเทศ ยกเว้นก็แต่เมืองอิดลิบ (Idlib) ซึ่งเป็นฐานที่มั่นสุดท้ายของฝ่ายกบฏที่มี...
ปมปัญหาอุยกูร์
28 พฤศจิกายน 2019

เปิดเบื้องหลังปมปัญหาอุยกูร์: มองผ่านเลนส์นักวิชาการด้านจีนศึกษา

เมื่อประมาณ 4 ปีก่อน ผู้เขียนได้รับเชิญจากทางการจีนให้ไปเยี่ยมชมเมืองอุรุมชี เมืองเอกของเขตปกครองตนเองซินเจียง-อุยกูร์ พร้อมกันนั้นก็มีโอกาสเข้าร่วมงานสัมมนา ‘Xinjiang Development Forum’ ซึ่งมีเพื่อนนักวิชาการจากประเทศต่างๆ เข้าร่วมกว่า 30 ประเทศทั่วโลก    ในงานครั้งนั้น นอกจากพวกเราจะมีโอกาสลงไปสัมผัสชีวิตจริงของชาวอุยกูร์ และเรียน...