×

ชวินโรจน์ ธีรพัชรพร

สมรสเท่าเทียม
19 ธันวาคม 2023

คลี่ร่าง พ.ร.บ.สมรสเท่าเทียมเวอร์ชันปี 66 ต้องรออีกนานเท่าไรกว่าจะได้ความเท่าเทียม?

ร่าง พ.ร.บ.สมรสเท่าเทียมเวอร์ชันปี 2566 ทั้ง3 ร่าง มีหลักการเหมือนกันคือขยายสิทธิการสมรสตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ป.พ.พ.) มาตรา 1448 และมาตราที่เกี่ยวข้อง จากเดิมจำกัดเฉพาะชายกับหญิงให้ขยายสิทธิครอบคลุมบุคคลทุกเพศ ทุกอัตลักษณ์ทางเพศ และทุกเพศวิถี โดยมิได้ลดทอนสิทธิหน้าที่ใดๆ ของคู่สมรส บิดามารดา ชายหญิงทั่วไปทั้งที่มีอยู่เดิมและในอนาคต การ...
16 มิถุนายน 2022

จับตาร่างสมรสเท่าเทียมก่อนไปต่อวาระที่ 2 อาจกลายร่างเป็น พ.ร.บ.คู่ชีวิต

หลังจากผ่านพ้นการลงมติของสภาผู้แทนราษฎร วาระที่ 1 (รับหลักการ) ต่อร่างกฎหมาย 4 ร่าง ในวันที่ 15 มิถุนายนที่ผ่านมา ได้แก่   ร่างที่ 1 - ร่าง พ.ร.บ.แก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ปพพ.) (ร่างสมรสเท่าเทียม เสนอโดย พรรคก้าวไกล เพื่อแก้ไขมาตรา 1448 และมาตราที่เกี่ยวข้อง)   ร่างที่ 2 - ร่าง พ.ร.บ.คู่ชีวิต (เสนอโดย กรมคุ...
equal marriage
9 กุมภาพันธ์ 2022

เปิด 9 เหตุผล ทำไมต้อง #สมรสเท่าเทียม

วันนี้ (9 กุมภาพันธ์) หลังรอคอยมา 448 วัน ในที่สุดร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ป.พ.พ.1448) หรือร่าง พ.ร.บ.สมรสเท่าเทียม ก็เข้าสู่การพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.) นับจากวันแรก 18 มิถุนายน 2563 ซึ่งเป็นเดือนแห่งความหลากหลายทางเพศ ที่กฎหมายสมรสเท่าเทียมยื่นเข้าสู่สภาผู้แทนราษฎรผ่านกระบวนรับฟังความคิดเห็นตามมาตรา 77 ของร...
8 กรกฎาคม 2020

เข้าใจความต่าง ร่าง แก้ไข ป.พ.พ. มาตรา 1448 เพื่อ #สมรสเท่าเทียม และร่าง พ.ร.บ. คู่ชีวิต

หลังจากช่วงต้นสัปดาห์ที่ผ่านมา #สมรสเท่าเทียม ติดเทรนด์ทวิตเตอร์และปลุกกระแสการพูดถึงการแก้ไขกฎหมายเพื่อความเท่าเทียมสำหรับคู่รักที่มีความหลากหลายทางเพศ (LGBTQ) ในโลกโซเชียล ซึ่งเกิดจากการเสนอร่างกฎหมายโดย ส.ส. ธัญวัจน์ กมลวงศ์วัฒน์ และคณะฯ จากพรรคก้าวไกล ที่ได้เสนอร่าง พ.ร.บ. แก้ไขประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ฯ (ป.พ.พ.) จากเดิมที่ ป.พ.พ. มาตรา 1448 อ...
7 กรกฎาคม 2020

#สมรสเท่าเทียม กระแสบนโลกออนไลน์ ที่มาสู่ความหวังในการแก้กฎหมายให้สิทธิคู่ LGBTQ สมรสกันได้อย่างเท่าเทียม

ในช่วงสัปดาห์ที่ผ่านมา เทรนด์ทวิตเตอร์ #สมรสเท่าเทียม ติดอันดับต้นๆ จนทำให้หลายคนมีคำถามมากมายว่าสมรสเท่าเทียมคืออะไร ใครเท่ากับใคร ฯลฯ   เบื้องต้นขอเล่าให้ฟังถึงกระบวนการร่างกฎหมายของไทย ส่วนใหญ่จะมีที่มาจาก  (1) ส.ส. จำนวน 20 คน เสนอกฎหมาย  (2) กรม กระทรวง เสนอกฎหมายผ่านคณะรัฐมนตรี หรือ  (3) ประชาชนเข้าชื่อเสนอก...
18 ธันวาคม 2019

ถอดบทเรียนสมรสเท่าเทียม LGBT ไต้หวัน (ตอนที่ 2): การต่อสู้ที่ยังไม่สิ้นสุดเพื่อการสมรสเท่าเทียมที่แท้จริง

  ในโอกาสที่ TAPCPR ไต้หวัน องค์กรพัฒนาเอกชนที่ผลักดันการสมรสเท่าเทียมสำเร็จเมื่อเดือนพฤษภาคม 2019 ได้รับเชิญให้มาถ่ายทอดประสบการณ์การผลักดันกฎหมายที่กรุงเทพฯ ในหัวข้อ ‘สิทธิเสมอภาคด้านการสมรสของคู่หลากหลาย: บทเรียนจากไต้หวัน’ เมื่อวันที่ 16 ธันวาคมที่ผ่านมา ณ โรงแรม Mövenpick BDMS Wellness Resort Bangkok กรุงเทพฯ สนับสนุนโดยองค์กร APCO...
lgbtq ngo taiwan
19 มิถุนายน 2019

ถอดบทเรียนการเคลื่อนไหวเพื่อสิทธิสมรสเท่าเทียม LGBT ของ NGO ไต้หวัน ย้อนมองไทย ทำไมยังไม่คืบหน้า

ทำความรู้จักไต้หวันกันสักนิด ไต้หวัน มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า Republic of China ถือเป็นรัฐอิสระ เนื่องจากมีองค์ประกอบของรัฐครบทั้ง 4 ประการคือ มีดินแดน มีประชากร มีรัฐบาล และมีอำนาจอธิปไตย   ไต้หวันเป็นดินแดนที่จีนแผ่นดินใหญ่อ้างว่าเป็นส่วนหนึ่งของจีน แต่ก็มีพรรคการเมืองไต้หวัน ได้แก่ พรรคประชาธิปไตยก้าวหน้า ต้องการให้ไต้หวันเป็นรัฐอ...
6 พฤศจิกายน 2018

พ.ร.บ. คู่ชีวิต ร่างที่ 3 ความเสมอภาคที่ไม่มีอยู่จริงของ LGBTI ไทย

ร่างพระราชบัญญัติการจดทะเบียนคู่ชีวิต พ.ศ. .... (Civil Partnership Bill) ** ที่เผยแพร่บนเว็บไซต์ของกรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ กระทรวงยุติธรรม เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2561 จำนวน 70 มาตรา เท่าที่ผู้เขียนรวบรวมได้ ร่างนี้ถือเป็น ร่าง พ.ร.บ. ที่ 3 (กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ, 2561)   โดยร่างที่ 1 ยกร่างในปี 2556 มีจำนวน 15 มาตรา ยกร่างโดยกร...
9 กรกฎาคม 2018

ก้าวต่อไป (อีกยาวไกล): ความเสมอภาคในการสมรสของ LGBTI ในประเทศไทย

    งานเสวนา ‘ก้าวต่อไปของประเทศไทย: ร่างพระราชบัญญัติการจดทะเบียนคู่ชีวิต พ.ศ.....’  เมื่อวันที่ 7 กรกฎาคม 2561 โดยกรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ กระทรวงยุติธรรม ณ โรงแรม เดอะ สุโกศล กรุงเทพ ถือเป็นกิจกรรมใหญ่งานหนึ่งในรอบ 5 ปีที่แสดงหมุดหมายสำคัญของการผลักดันร่างพระราชบัญญัติการจดทะเบียนคู่ชีวิต (ร่าง พ.ร.บ. คู่ชีวิต) เพื่อรับรอง...


X