×

นพ.ชนาธิป ไชยเหล็ก

13 มกราคม 2024

ไอ เจ็บคอ แบบไหนใช่ ‘ไข้หวัดใหญ่’ ทำไมถึงระบาดเพิ่มขึ้นช่วงนี้

หลังปีใหม่มาหลายคนเริ่มมีอาการไอ เจ็บคอ บางคนคัดจมูก น้ำมูกไหล ถ้ามีไข้สูง ปวดเมื่อยตามตัวด้วยก็อาจเป็นไข้หวัดใหญ่ แต่ต้องแยกกับโควิดด้วยการตรวจ ATK ก่อน ถ้าขึ้นขีดเดียว ‘ไข้หวัดใหญ่’ ก็น่าสงสัยที่สุด เพราะตั้งแต่ครึ่งหลังของปี 2566 จนถึงช่วงนี้ไข้หวัดใหญ่ยังคงระบาดอยู่ ส่วนโควิดก็กลับมาระบาดอีกรอบตั้งแต่ช่วงปลายปี ทำไมถึงเป็นเช่นนั้น   ‘อ...
10 มกราคม 2023

ถอดบทเรียน ‘มาตรการรับนักท่องเที่ยว’ ของไทย ทำอย่างไรไม่ให้ ‘กลับไปกลับมา’

กะทันหันกว่าการเปิดประเทศของจีนก็น่าจะเป็น ‘มาตรการรับนักท่องเที่ยว’ ของไทย เพราะสำนักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศไทย (กพท.) เพิ่งออกประกาศข้อกำหนดในการเข้าประเทศไทยสำหรับผู้โดยสารระหว่างประเทศ 2 ฉบับ โดยฉบับแรกเมื่อวันที่ 6 มกราคม 2566 และอีกฉบับเมื่อวันที่ 7 มกราคม เพื่อแก้ไขเนื้อหาในฉบับแรกเกี่ยวกับผู้ที่ไม่ได้รับวัคซีน ก่อนที่ทั้งหมดจะมีผลบังคับใ...
4 มกราคม 2023

โควิดในจีน หลังยกเลิก Zero-COVID จะส่งผลกระทบต่อเราอย่างไร

ก่อนหน้านี้การยกเลิกนโยบายโควิดเป็นศูนย์ (Zero-COVID) ของจีนแทบเป็นไปไม่ได้เลย นับตั้งแต่การล็อกดาวน์เมืองอู่ฮั่นตั้งแต่ปลายเดือนมกราคม 2020 ทางการจีนก็ใช้มาตรการควบคุมโควิดอย่างเข้มงวดเช่นนี้มาโดยตลอด อย่างเมื่อกลางปี 2022 ในขณะที่หลายประเทศให้ประชาชนกลับมาใช้ชีวิตตามปกติแล้ว นครเซี่ยงไฮ้ซึ่งมีประชากรมากที่สุดของจีนกลับถูกล็อกดาวน์นานหลายสัปดาห์ ...
3 มกราคม 2023

‘เราจะอยู่ร่วมกับโควิดอย่างไร’ ในปี 2566 ถอดบทเรียนโควิดไทยปี 2565

โควิดในปี 2565 ที่ผ่านไปแล้ว คำถามที่ว่า ‘โควิดเป็นโรคประจำถิ่นแล้วหรือยัง’ คงไม่สำคัญเท่ากับว่า ‘เราได้อยู่ร่วมกับโควิดอย่างไร’ ทั้งโลกเริ่มต้นปี 2565 ด้วยการระบาดของสายพันธุ์โอมิครอน บางคนมองว่าจะเป็นสายพันธุ์สุดท้ายก่อนที่จะกลายเป็นโรคประจำถิ่น แต่จนถึงปัจจุบันไวรัสยังคงกลายพันธุ์เป็นสายพันธุ์ย่อยจำนวนมาก และองค์การอนามัยโลกยังคงระดับการระบาดใหญ...
มะเร็งปอด
12 พฤศจิกายน 2022

เปิดสถิติ ‘ภาคเหนือ’ ป่วย ‘มะเร็งปอด’ สูงสุด สาเหตุเกิดจากอะไร

จากกรณี นพ.กฤตไท ธนสมบัติกุล อายุ 28 ปี อาจารย์คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ป่วยเป็นโรค ‘มะเร็งปอดระยะสุดท้าย’ ทั้งที่ดูแลสุขภาพ ออกกำลังกาย และไม่สูบบุหรี่ ทำให้หลายคนคาดว่ามลพิษทางอากาศหรือ PM2.5 ในเขตภาคเหนืออาจเป็นสาเหตุของมะเร็งปอดในครั้งนี้   รายงานโรคมะเร็งในประเทศไทยปี 2559-2561 วิเคราะห์ข้อมูลผู้ป่วยมะเร็งจากโรงพยาบาลใน 14...
เจาะดราม่าญาติคนไข้-หมอโต้เถียงกันรุนแรง
7 พฤศจิกายน 2022

เจาะดราม่าญาติคนไข้-หมอโต้เถียงกันรุนแรง ปัญหาอยู่ที่ ‘คน’ หรือ ‘ระบบ’

หลายท่านน่าจะเห็นคลิปญาติคนไข้-หมอโต้เถียงกันอย่างรุนแรงที่โรงพยาบาลเชียงแสน จ.เชียงราย เมื่อวันก่อน (4 พฤศจิกายน) บางช่วงบางตอนในคลิปคือญาติถามหมอที่นั่งก้มหน้ามองโทรศัพท์มือถืออยู่อีกฝั่งของโต๊ะว่า “เป็นแพทย์ทำไมไม่บริการลูกค้า” แล้วหมอคนนั้นตอบว่า “หมอไม่ใช่ผู้บริการ แต่เป็นผู้บริบาล อยากถ่ายคลิปก็ถ่ายไป”   และที่ฉีกทุกตำรา ‘เอาใจเขาม...
29 ตุลาคม 2022

ทำไมหมอ (ไม่ทั้งหมด) ถึงคิดว่า ‘บัตรทอง’ ทำให้คนไข้ไม่ดูแลตัวเอง

‘บัตรทอง’ หรือสิทธิ์หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า หรือแรกสุดคือนโยบาย 30 บาทรักษาทุกโรค ที่เริ่มนำร่องมาตั้งแต่ปี 2544 และต่อมายกเลิกการเก็บเงิน 30 บาทไปเมื่อปี 2549 การรักษา ‘ฟรี’ นี้ทำให้เกิด ‘สมมติฐาน’ ที่ถูกหยิบยกขึ้นมาเวลาพูดถึงข้อดี-ข้อเสียของนโยบายนี้มาตลอด นั่นคือ   คนไข้ไม่ดูแลตัวเอง จนทำให้ป่วยขึ้นมา หรือพอป่วยแล้วก็มาโรงพยาบาล ทั้ง...
วัคซีนโควิด 2 สายพันธุ์ (Bivalent Vaccine)
19 ตุลาคม 2022

รู้จักวัคซีนโควิด 2 สายพันธุ์ (Bivalent Vaccine) ที่เริ่มฉีดในอเมริกาและสิงคโปร์แล้ว

เมื่อ 2 ปีก่อนวัคซีนชนิดเอ็มอาร์เอ็นเอ (mRNA) เคยถูกพูดถึงว่าจะเป็นวัคซีนที่สามารถ ‘อัปเดต’ ตามการกลายพันธุ์ของไวรัสได้เร็วที่สุด เพราะสร้างจากสารพันธุกรรมที่สังเคราะห์ขึ้นมาในห้องแล็บ นักวิทยาศาสตร์จึงสามารถสร้างวัคซีนรุ่นใหม่ได้ทันทีที่ทราบรหัสพันธุกรรมที่เปลี่ยนไปของไวรัส   เมื่อปลายเดือนสิงหาคม 2022 องค์การอาหารและยาแห่งสหรัฐอเมริกา ...
เมื่อโควิดเป็นโรคติดต่อ
3 ตุลาคม 2022

เมื่อโควิดเป็นโรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวัง ประชาชนควรปรับตัวอย่างไร

ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2565 เป็นต้นมา กระทรวงสาธารณสุขปรับลดมาตรการป้องกันควบคุมโรคโควิดจาก ‘โรคติดต่ออันตราย’ ซึ่งประกาศมาตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ 2563 เป็น ‘โรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวัง’ เนื่องจากสถานการณ์การระบาดในประเทศดีขึ้น กล่าวคือแนวโน้มจำนวนผู้ป่วยที่มีอาการรุนแรงและอัตราการเสียชีวิตลดลง และความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนป้องกันโรคโควิดอยู่ในระด...
ยาแพ็กซ์โลวิด
15 สิงหาคม 2022

เจาะลึก ‘แพ็กซ์โลวิด’ ยาต้านไวรัสโควิด-19 ประสิทธิผลสูง ผู้ป่วยรายใดควรได้รับยานี้

‘แพ็กซ์โลวิด’ (Paxlovid) เป็นยาต้านไวรัสโควิด-19 ที่ประเทศไทยนำเข้ามาใช้แล้ว แต่ยังไม่ค่อยมีใครพูดถึงมากนัก ความจริงแล้วยานี้มีประสิทธิผลสูงที่สุด และได้รับการบรรจุในแนวทางการรักษาโควิด-19 ขององค์การอนามัยโลก (WHO) และสมาคมโรคติดเชื้อสหรัฐอเมริกา (IDSA)   ยานี้ต่างจากยาต้านไวรัสอื่นอย่างไร สามารถลดอาการรุนแรงได้เท่าไร ถ้าไวรัสกลายพันธุ์ ...

Close Advertising