×

James Webb Space Telescope

ดาวแคระน้ำตาล
24 ตุลาคม 2024

กล้องเจมส์ เว็บบ์ พบหลักฐานของดาวแคระน้ำตาลดวงแรกที่อยู่นอกกาแล็กซีทางช้างเผือก

คณะนักดาราศาสตร์จากนานาประเทศค้นพบหลักฐานของสิ่งที่อาจเป็นดาวแคระน้ำตาลอายุน้อย ซึ่งอยู่ห่างจากโลก 200,000 ปีแสง และอาจเป็นวัตถุที่มีมวลต่ำกว่าดาวฤกษ์ดวงแรกที่ถูกพบอยู่นอกกาแล็กซีทางช้างเผือก   ดาวแคระน้ำตาล หรือ Brown Dwarf เป็นดาวที่มีสถานะคลุมเครือระหว่างการเป็นดาวเคราะห์และดาวฤกษ์ เนื่องจากมีขนาดและมวลใหญ่กว่าดาวพฤหัสบดีหลายเท่า แต่ม...
Westerlund 1
10 ตุลาคม 2024

ESA เผยภาพซูเปอร์กระจุกดาว Westerlund 1 จากกล้องเจมส์ เว็บบ์

องค์การอวกาศยุโรป หรือ ESA เผยภาพถ่ายกระจุกดาว Westerlund 1 ที่ประกอบด้วยดาวฤกษ์น้อยใหญ่อยู่ใกล้กันอย่างหนาแน่น จากกล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์ เว็บบ์   กระจุกดาวดังกล่าวอยู่ห่างจากโลกไปประมาณ 12,000 ปีแสง พบครั้งแรกโดยนักดาราศาสตร์ชาวสวีเดนชื่อ Bengt Westerlund ในปี 1961 และกลายเป็นเป้าหมายที่ได้รับความสนใจจากนักดาราศาสตร์ทั่วโลก เพื่อศึกษา...
กาแล็กซี GS-NDG-9422
28 กันยายน 2024

นักดาราศาสตร์พบกาแล็กซีประหลาดในยุคแรกเริ่มของจักรวาล จากข้อมูลกล้องเจมส์ เว็บบ์

นักดาราศาสตร์ พบ กาแล็กซีประหลาด ในยุคแรกเริ่มของจักรวาล เมื่อแสงจากฝุ่นก๊าซห้อมล้อมดวงดาวกลับส่องสว่างกว่าแสงดาวฤกษ์ และอาจเป็นกาแล็กซีที่อยู่กึ่งกลางระหว่างการกำเนิดดาวฤกษ์รุ่นแรกก่อนวิวัฒนาการมาเป็นดาราจักรอย่างที่เรารู้จักในปัจจุบัน   กาแล็กซี GS-NDG-9422 อาจปรากฏเป็นจุดสว่างมัวๆ ในภาพถ่ายอวกาศห้วงลึกของกล้องเจมส์ เว็บบ์ แต่ข้อมูลจาก...
20 กันยายน 2024

NASA เผยภาพสองกาแล็กซีกำลังชนกัน พร้อมรายละเอียดคมชัดจากกล้องเจมส์ เว็บบ์

NASA เผยภาพสองกาแล็กซีที่กำลังควบรวมกัน พร้อมรายละเอียดสุดคมชัดจากกล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์ เว็บบ์   วัตถุดังกล่าวมีชื่อว่า ‘Arp 107’ อยู่ห่างจากโลกไปประมาณ 465 ล้านปีแสง ประกอบด้วยกาแล็กซีทรงรี PGC 32628 (ทางซ้ายของภาพ) และกาแล็กซีชนิดก้นหอย PGC 32620 (ขวา) ที่พุ่งชนกันเมื่อหลายร้อยล้านปีที่แล้ว และอยู่ในกระบวนการควบรวมกันอยู่ในปัจจุบัน ...
14 กันยายน 2024

NASA เผยภาพกลุ่มดาวฤกษ์อายุน้อยที่ชายขอบกาแล็กซีทางช้างเผือก

ชวนดู ‘ดอกไม้ไฟ’ จากบรรดาดวงดาวเยาว์วัย ณ ชายขอบทางช้างเผือก ในภาพถ่ายล่าสุดจากกล้องเจมส์ เว็บบ์   นักดาราศาสตร์ใช้กล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์ เว็บบ์ ถ่ายภาพกระจุกดาวฤกษ์เกิดใหม่ในบริเวณชายขอบกาแล็กซีทางช้างเผือก เพื่อศึกษาผลกระทบของสภาพแวดล้อมในอวกาศที่แตกต่างกัน   ภาพถ่ายดังกล่าวเผยให้เห็นพื้นที่เมฆโมเลกุล Digel Cloud 2S ที่ประ...
28 สิงหาคม 2024

กล้องเจมส์ เว็บบ์ เผยภาพดาวฤกษ์เกิดใหม่ในเนบิวลา NGC 1333 สุดคมชัด

กล้องเจมส์ เว็บบ์ เผยภาพสุดคมชัดของเนบิวลา NGC 1333 แสดงให้เห็นดาวฤกษ์และดาวแคระน้ำตาลที่กำลังก่อตัว   เนบิวลาดังกล่าวเป็นส่วนหนึ่งของเมฆโมเลกุลเพอร์ซิอัส (Perseus Molecular Cloud) ที่อยู่ห่างจากโลกประมาณ 960 ปีแสง และเป็นบริเวณที่กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลบันทึกภาพไว้ในโอกาสฉลองครบ 33 ปีของภารกิจ เมื่อเดือนเมษายน ปี 2023   อย...
26 กรกฎาคม 2024

กล้องเจมส์ เว็บบ์ เผยภาพถ่ายดาวเคราะห์นอกระบบสุริยะ Epsilon Indi Ab อยู่ห่างจากโลก 12 ปีแสง

กล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์ เว็บบ์ ถ่ายภาพดาวเคราะห์นอกระบบสุริยะ Epsilon Indi Ab ยืนยันการพบดาวเคราะห์ที่ห่างโลกไป 12 ปีแสงเป็นครั้งแรก   เอลิซาเบธ แมทธิวส์ หัวหน้าคณะดาราศาสตร์ในการค้นพบครั้งนี้ จาก Max Planck Institute for Astronomy เปิดเผยว่า “การค้นพบครั้งนี้น่าตื่นเต้นมาก เพราะดาวเคราะห์ดวงนี้มีความคล้ายคลึงกับดาวพฤหัสบดีมาก แม้จะมีมว...
James Webb Space Telescope
1 มิถุนายน 2024

กล้องเจมส์ เว็บบ์ พบกาแล็กซีแห่งใหม่ที่อยู่ไกลจากโลกที่สุด

นักดาราศาสตร์พบกาแล็กซีไกลโลกที่สุดเท่าที่เคยค้นพบมา จากภาพถ่ายอวกาศห้วงลึกของกล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์ เว็บบ์   กาแล็กซีดังกล่าวมีชื่อว่า JADES-GS-z14-0 มีค่าการเลื่อนไปทางแดง หรือค่า Redshift (z) ประมาณ 14.32 เท่ากับแสงที่เราเห็นจากดาราจักรแห่งนี้ ใช้เวลานานกว่า 13,500 ล้านปีเพื่อเดินทางมาถึงโลก ทำลายสถิติเดิมของกาแล็กซี JADES-GS-z13-0 ...
หลุมดำ
17 พฤษภาคม 2024

นักดาราศาสตร์พบการชนกันของสองหลุมดำที่อยู่ไกลจากโลกที่สุด

นักดาราศาสตร์พบหลักฐานการชนกันระหว่าง หลุมดำ สองแห่งที่ใจกลางของ 2 กาแล็กซี เป็นครั้งแรกที่ตรวจพบหลุมดำชนกันในยุคแรกเริ่มของเอกภพ และนับเป็นการควบรวมของหลุมดำที่ไกลจากโลกที่สุดในปัจจุบัน   การค้นพบดังกล่าวเกิดขึ้นในบริเวณ ZS7 ที่อุปกรณ์ NIRSpec ของกล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์ เว็บบ์ ตรวจพบว่าเป็นหลักฐานของการควบรวมกันระหว่างกาแล็กซี 2 แห่ง ซ...
14 พฤษภาคม 2024

กล้องเจมส์ เว็บบ์ ตรวจพบหลักฐานชั้นบรรยากาศรอบดาวเคราะห์หิน 55 Cancri e

นักดาราศาสตร์อาจพบหลักฐานของบรรยากาศรอบดาวเคราะห์หินดวงแรกที่โคจรรอบดาวฤกษ์คล้ายดวงอาทิตย์ที่ห่างไป 41 ปีแสง จากข้อมูลล่าสุดของกล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์ เว็บบ์   ดาวเคราะห์ 55 Cancri e หรือดาว Janssen เป็น 1 ใน 5 ดาวเคราะห์ที่โคจรรอบดาวฤกษ์ชื่อ 55 Cancri โดยมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางใหญ่กว่าโลกเกือบ 2 เท่า ทำให้จัดอยู่ในหมวดของดาวเคราะห์ Sup...


Close Advertising
X