×

ประชาธิปไตย

24 มิถุนายน 2017

ย่ำกรุงเทพฯ ย้อนรอยเหตุการณ์ ‘อภิวัฒน์สยาม 2475’

     คนไทยทุกคนต่างรู้ดีว่า วันที่ 24 มิถุนายน 2475 เป็นวันสำคัญทางประวัติศาสตร์ไทย เป็นจุดเปลี่ยนครั้งยิ่งใหญ่ของสยามประเทศ การอภิวัฒน์ในครั้งนั้นนำพาชาวสยามหลุดจากการปกครองเดิมตามระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์เข้าสู่ยุคสมัยใหม่ในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข เป็นก้าวแรกของสังคมประชาธิปไตยที่ประชาชนอย่างเราได้สัมผัส ปฏิ...
24 มิถุนายน 2017

‘ปรีดี’ และ ‘คนดี’ ในความทรงจำของดุษฎี พนมยงค์

     ในวาระครบรอบ 117 ปีชาตกาล ของนายปรีดี พนมยงค์ และเป็นปีที่ 85 ของระบอบประชาธิปไตยที่นายปรีดีมีส่วนในการอภิวัฒน์เปลี่ยนแปลงการปกครอง เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 อันก่อให้เกิดรัฐธรรมนูญฉบับแรกของประเทศสยาม เมื่อวันที่ 27 มิถุนายนในปีเดียวกัน ทำให้ราษฎรกลายมาเป็นเจ้าของอำนาจสูงสุดของประเทศ      แต่การเดินทาง...
23 มิถุนายน 2017

ย้อนรอย ‘สี่ทหารเสือ’ มิตรภาพ อำนาจ ชะตากรรม ตำนานการเมืองไทย พ.ศ. 2475

     บทเกริ่นนำของสโมสรศิลปวัฒนธรรม ในแง่มุมประวัติศาสตร์ ได้อรรถาธิบายต่อเรื่องนี้ไว้อย่างน่าสนใจว่า ก่อนจะถึงยุค ‘สิงห์หนุ่มแห่งกองทัพบก’ - ป.พิบูลสงคราม คือสมัยของ ‘สี่ทหารเสือ’ ผู้นำการเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475 อันได้แก่ นายพันเอก พระยาพหลพลพยุหเสนา นายพันเอก พระยาทรงสุรเดช นายพันเอก พระยาฤทธิอัคเนย์ และนายพันโท พระประศาสน์พิทยาย...
20 มิถุนายน 2017

บทเรียนจากการเมืองลาติน เมื่อเผด็จการทหารไม่ใช่คำตอบสุดท้าย

     เมื่อพูดถึง ‘ภูมิภาคลาตินอเมริกา’ หลายคนคงจะนึกถึงการประกวดนางงาม วัฒนธรรมชนเผ่าโบราณ การท่องเที่ยวแนวผจญภัย การก่ออาชญากรรม หรือแม้แต่การค้ายาเสพติด หลายคนคงอาจจะยังไม่รู้ว่า ภูมิภาคแห่งนี้ครั้งหนึ่งเกือบทุกประเทศล้วนเคยถูกปกครองด้วยระบอบเผด็จการ จนได้ชื่อว่าเป็น ‘ภูมิภาคที่มีระบอบเผด็จการทหารแข็งแกร่งที่สุดในโลก’ และในปัจจุบัน...
20 มิถุนายน 2017

เกษียร เตชะพีระ ‘รัฐพันลึก’ การเบียดแย่งปะทะของ ‘อำนาจ’ สู่การหาจุดร่วมใหม่ที่ยังมองไม่เห็น

     ในงานเสวนา ‘Direk’s Talk ทิศทางการเมืองโลก ทิศทางการเมืองไทย และนโยบายสาธารณะ’ ซึ่งจัดโดยศูนย์วิจัย ดิเรก ชัยนาม คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เมื่อวันที่ 19 มิถุนายน 2560 ณ ห้อง ร.103 ชั้น 1 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ มีการจัดเวทีพูดคุยในหลาย panel รวมทั้งมีการเปิดเวทีโดยการกล่าวปาฐกถาของ ดร. เสกสรรค์ ประเสริฐกุล (...
19 มิถุนายน 2017

“ประชาธิปไตยสร้างรัฐบาลที่มีธรรมาภิบาลได้ง่ายกว่าอำนาจนิยม” ดร. เสกสรรค์ ประเสริฐกุล ปาฐกถา ‘การเมืองไทยกับสังคม 4.0’

มีคนเชื่อว่าตัวเองกำลังทำความดีด้วยการเอาคนไม่ดีลงมาจากเวทีอำนาจ จากนั้นก็เขียนกติกาการเมืองขึ้นมาใหม่เพื่อป้องกันไม่ให้คนไม่ดีกลับมามีอำนาจอีก หรือถ้าขึ้นมาได้ ก็ต้องถูกฝ่ายคนดีควบคุมอย่างเข้มข้น        ในงานเสวนา ‘Direk’s Talk ทิศทางการเมืองโลก ทิศทางการเมืองไทย และนโยบายสาธารณะ’ ซึ่งจัดโดยศูนย์วิจัย ดิเรก ชัยนาม...
6 มิถุนายน 2017

SPECIAL REPORT – ปรองดอง เป็นไปได้หรือแค่ฝัน?

ขวบปีที่ 3 ของการเข้าควบคุมอำนาจและบริหารบ้านเมืองโดยรัฐบาลคสช. กระบวนการปรองดอง เริ่มต้นขึ้นอีกครั้ง โดย 'รัฐ' เข้ามาเป็นคนกลาง นำทุกฝ่ายเข้าร่วมถกหาทางออกเพื่อลดความขัดแย้ง แต่ยังมีคำถามคาใจเกิดขึ้นมากมายต่อกระบวนการนี้ สุดท้ายปลายทาง 'ปรองดอง' จะเกิดขึ้นได้จริงหรือเป็นเพียงแค่ความฝัน ติดตามทัศนะของแต่ละฝ่ายได้จากวิดิโอนี้...
5 มิถุนายน 2017

รู้ไหมผมลูกใคร? ชำแหละ ‘ตระกูลการเมือง’ สืบทอด-ผูกขาด-สูญพันธุ์ ในวัฏจักรประชาธิปไตยไทย

     ปี พ.ศ. 2560 เป็นปีที่ 85 ของอายุประชาธิปไตยไทย นับตั้งแต่มีการเปลี่ยนแปลงการปกครองโดยคณะราษฎร ประวัติศาสตร์บันทึกเอาไว้ว่าเริ่มต้นในวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475      ในห้วงเวลาที่อายุของประชาธิปไตยผันผ่านมานี้ มีเหตุการณ์เกิดขึ้นมากมาย ท้าทายความเปลี่ยนแปลงอยู่ทุกขณะ โดยเฉพาะรูปแบบประชาธิปไตยแบบตัวแทนของไทย ที...
5 มิถุนายน 2017

จะปรองดองต้องคิดนอกกรอบ เอนก เหล่าธรรมทัศน์ กับข้อเสนอ ‘รัฐบาลผสม’ เพื่อการปรองดองแห่งชาติ

     สองทศวรรษที่แล้ว ศ. ดร. เอนก เหล่าธรรมทัศน์ ให้กำเนิดทฤษฎี ‘สองนคราประชาธิปไตย’ เพื่ออธิบายปรากฏการณ์ความขัดแย้งของการเมืองไทยในช่วง พ.ศ. 2533-2536 สะท้อนแนวคิดทางประชาธิปไตยที่แตกต่างกันระหว่างคนชนบทและชนชั้นกลางจนเกิดวาทกรรม ‘คนชนบทตั้งรัฐบาล คนชั้นกลางล้มรัฐบาล’      ถึงวันนี้ ‘สองนคราประชาธิปไตย’ ยังคงอธิบ...
5 มิถุนายน 2017

‘เมื่อทหารเป็นคนกลาง ทุกคนก็รู้ว่าไม่กลาง’ ปอกเปลือกปรองดองในหัวใจสีแดงของจตุพร พรหมพันธุ์

     วันที่กระบวนการปรองดองเดินมาได้ระยะหนึ่งแล้ว เรามีนัดกับ จตุพร พรหมพันธุ์ ประธานแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ (นปช.) เพื่อสนทนาภายใต้โมงยามแห่งความขัดแย้งที่อาจปะทุขึ้นได้อีกยาม      บนถนนแห่งความขัดแย้งทางการเมือง เขานำมวลชนออกมาชุมนุมหลายครั้ง และต้องตกอยู่ในชะตากรรมที่ถูกคุมขังในเรือนจำ วนเข้าวนอ...


Close Advertising
X