×

เศรษฐกิจไทย

อาคม เติมพิทยาไพสิฐ
11 กรกฎาคม 2022

‘อาคม’ เล็งถกแบงก์ชาติ-มหาดไทย ขยายอายุมาตรการกระตุ้นภาคอสังหา รับดอกเบี้ยขาขึ้น

คลังเล็งถกแบงก์ชาติ-มหาดไทย ขยายอายุมาตรการกระตุ้นภาคอสังหาริมทรัพย์ที่กำลังจะหมดลงช่วงปลายปีนี้ วอนสถาบันการเงินเอกชนทำความเข้าใจภาวะดอกเบี้ยขาขึ้น ไม่ผลักภาระให้ผู้กู้มากเกินไป   อาคม เติมพิทยาไพสิฐ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง เปิดเผยระหว่างปาฐกถาพิเศษในงานสัมมนา ‘Property Inside 2022 ทางรอดอสังหาฯ หลังโควิด-ไฟสงคราม’ ว่ากระทรวงการคลั...
เศรษฐพุฒิ สุทธิวาทนฤพุฒิ
11 กรกฎาคม 2022

ธปท. ย้ำ โจทย์หลักเศรษฐกิจไทยต้อง Smooth Takeoff ส่งสัญญาณชัด ขึ้นดอกเบี้ยแบบค่อยเป็นค่อยไป

ผู้ว่าแบงก์ชาติส่งสัญญาณดอกเบี้ยไทยขยับแบบค่อยเป็นค่อยไปตามบริบทเศรษฐกิจที่ยังอยู่ในช่วงฟื้นตัว ลั่นพร้อมต่ออายุมาตรการช่วยเหลือกลุ่มเปราะบางหากมีความจำเป็น มองบาทอ่อนตามกลไกตลาด ไม่พบเงินทุนเคลื่อนย้ายผิดปกติ   เศรษฐพุฒิ สุทธิวาทนฤพุฒิ ผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) กล่าวในงานสัมมนา ‘ก้าวใหม่เศรษฐกิจการเงินภาคใต้... ปรับกระบวนทัพ ร...
เงินบาท
7 กรกฎาคม 2022

‘เงินบาท’ เปิดตลาดเช้าวันนี้ยังอ่อนค่าต่อเนื่อง จับตาจีนหากกลับมาล็อกดาวน์ ส่อฉุดค่าเงินรูดแตะ 36.50 บาทต่อดอลลาร์

ค่าเงินบาทเปิดตลาดเช้าวันนี้ (7 กรกฎาคม) ที่ระดับ 36.23 บาทต่อดอลลาร์ อ่อนค่าลงจากระดับปิดวันก่อนหน้าที่ระดับ 36.10 บาทต่อดอลลาร์   พูน พานิชพิบูลย์ นักกลยุทธ์ตลาดเงินตลาดทุน ธนาคารกรุงไทย กล่าวว่า ความกังวลแนวโน้มเศรษฐกิจหลักอย่างสหรัฐฯ และยุโรป อาจชะลอตัวลงหนักจนเข้าสู่สภาวะถดถอย ยังคงเป็นปัจจัยที่กดดันตลาดการเงิน หลังจากที่ดัชนีผู้จัด...
สแตนดาร์ดชาร์เตอร์ด
6 กรกฎาคม 2022

สแตนดาร์ดชาร์เตอร์ด คาดดอกเบี้ยนโยบายไทยขยับเป็น 1.25% ก่อนสิ้นปี จับตา กนง. จัดประชุมนัดพิเศษ หาก Fed ขึ้นดอกเบี้ยแรง-เงินเฟ้อสูง

ธนาคารสแตนดาร์ดชาร์เตอร์ด คาดเศรษฐกิจไทยในช่วงครึ่งปีหลังของปี 2565 จะฟื้นตัวต่อเนื่อง โดยได้รับปัจจัยหนุนจากภาคการท่องเที่ยว การส่งออก และการบริโภคภาคเอกชน ในขณะที่แรงกดดันจากเงินเฟ้อ และส่วนต่างดอกเบี้ยกับสหรัฐฯ ที่กว้างมากขึ้น จะทำให้คณะกรรมการนโยบายการเงิน (กนง.) มีมติปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายในไตรมาสนี้   ทิม ลีฬหะพันธุ์ นักเศรษฐศ...
เงินเฟ้อไทย
6 กรกฎาคม 2022

ชมคลิป: ‘เงินเฟ้อไทย’ แรงเกินคาด กดดัน ‘แบงก์ชาติ’ เร่งขึ้นดอกเบี้ย | Morning Wealth 6 กรกฎาคม 2565

นักเศรษฐศาสตร์ชี้ ตัวเลข เงินเฟ้อไทย เดือนมิถุนายนที่ 7.66% ยังไม่ถึงจุดพีค และมีโอกาสพุ่งแตะระดับ 10% ในไตรมาส 3 เผยเริ่มเห็นสัญญาณกระจายตัวมายังฝั่งอุปสงค์ จับตาแบงก์ชาติถูกกดดันต้องใช้ยาแรงขึ้น รายละเอียดเป็นอย่างไร   ถ้าสหรัฐฯ ยกเลิกภาษีนำเข้าจากจีน จะมีผลต่อเงินเฟ้อสหรัฐฯ และตลาดการลงทุนอย่างไรบ้าง พูดคุยกับ เกษรี อายุตตะกะ, CFP® ผู้อำน...
เงินเฟ้อ
5 กรกฎาคม 2022

‘พาณิชย์’ ยืนยัน ไทยยังเป็นประเทศเงินเฟ้อระดับต่ำ แม้ตัวเลขเดือน มิ.ย. พุ่งแตะ 7.66%

กระทรวงพาณิชย์ยังคงเป้ากรอบเงินเฟ้อปีนี้ไว้ที่ 4-5% แม้เงินเฟ้อเดือนมิถุนายนพุ่งแตะ 7.66% ทำสถิติสูงสุดในรอบหลายปีอีกครั้ง ยืนยันไทยยังเป็นประเทศเงินเฟ้อระดับต่ำ โดยอยู่ในลำดับที่ 87 จาก 123 ประเทศทั่วโลก   สำนักงานนโยบายและยุทธศาสตร์การค้า (สนค.) กระทรวงพาณิชย์ เปิดเผยดัชนีราคาผู้บริโภค (เงินเฟ้อทั่วไป) เดือนมิถุนายน 2565 อยู่ที่ 7.66% ...
เงินเฟ้อเดือน มิ.ย.
5 กรกฎาคม 2022

ตามคาด! เงินเฟ้อเดือน มิ.ย. พุ่ง 7.66% ทำสถิติสูงสุดในรอบ 13 ปี อีกครั้ง

สำนักงานนโยบายและยุทธศาสตร์การค้า (สนค.) กระทรวงพาณิชย์ เปิดเผยดัชนีราคาผู้บริโภค (เงินเฟ้อทั่วไป) เดือนมิถุนายน 2565 อยู่ที่ 7.66% เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน ซึ่งเป็นระดับสูงสุดในรอบ 13 ปี โดยสาเหตุหลักยังคงเป็นราคาพลังงานและอาหารที่สูงและเพิ่มขึ้นต่อเนื่อง   ขณะที่เงินเฟ้อพื้นฐาน (เมื่อหักอาหารสดและพลังงานออกแล้ว) ขยายตัว 2.51% (Yo...
เศรษฐกิจไทย
4 กรกฎาคม 2022

กกร. หั่นคาดการณ์ GDP ปีนี้เหลือ 2.75-3.5% คาด ศก.โลก อาจถดถอยในครึ่งปีหลัง หากสงครามยูเครน-รัสเซียไม่คลี่คลาย

กกร. ปรับประมาณการเติบโตของเศรษฐกิจไทยในปีนี้เหลือ 2.75-3.5% คาดเศรษฐกิจโลกอาจสู่ภาวะถดถอยในครึ่งปีหลัง หากสงครามยูเครน-รัสเซียไม่คลี่คลาย ห่วงเงินเฟ้อ-ดอกเบี้ยขาขึ้นกดดันกำลังซื้อของภาคครัวเรือน และต้นทุนของภาคธุรกิจกระทบไทยฟื้นตัว   ผยง ศรีวณิช ประธานสมาคมธนาคารไทย ในฐานะประธานคณะกรรมการร่วมภาคเอกชน 3 สถาบัน (กกร.) ประกอบด้วย สภาหอการค...
สถานการณ์เศรษฐกิจการเงิน
1 กรกฎาคม 2022

สรุปเปรียบเทียบสถานการณ์เศรษฐกิจการเงินปี 2540 และปัจจุบัน

วันที่ 2 กรกฎาคมของทุกปี เป็นวันครบรอบการประกาศลอยตัวค่าเงินบาท ดังนั้นในช่วงเวลานี้ของทุกปีจึงนับเป็นโอกาสดีที่จะย้อนกลับไปทบทวนสิ่งที่ถือว่าเป็นจุดอ่อนของโครงสร้างเศรษฐกิจการเงินไทยในเวลานั้น เพื่อเป็นการป้องกันไม่ให้เกิดการเดินซ้ำรอยอดีต และเปรียบเทียบเพื่อประเมินจุดเหมือนหรือแตกต่างกับบริบทปัจจุบัน เพื่อให้รู้เท่าทันสถานการณ์ และสามารถปรับแนวทา...
ศูนย์วิจัยกสิกรไทย
1 กรกฎาคม 2022

ศูนย์วิจัยกสิกรไทยมองวิกฤตปัจจุบันไม่ซ้ำรอยต้มยำกุ้ง แนะเร่งวางแนวทางรับมือหนี้ครัวเรือน-สังคมสูงวัย ลดข้อจำกัดการเติบโตระยะยาว

วันที่ 2 กรกฎาคมของทุกปี เป็นวันครบรอบการประกาศลอยตัวค่าเงินบาทเมื่อปี 2540 และเปลี่ยนมาใช้ระบบอัตราแลกเปลี่ยนลอยตัวแบบมีการจัดการ (Managed Float Exchange Rate Regime) โดยการตัดสินใจในครั้งนั้นนับเป็นจุดเปลี่ยนสำคัญของนโยบายอัตราแลกเปลี่ยนของไทย จากเดิมที่ใช้นโยบายอัตราแลกเปลี่ยนแบบผูกติดกับตะกร้าเงิน (ทำให้ค่าเงินไม่สอดคล้องกับพื้นฐานเศรษฐกิจที่แท...


Close Advertising
X