×

อาร์ม ตั้งนิรันดร

12 มีนาคม 2021

อาร์ม ตั้งนิรันดร ชี้ยกเครื่องระบบเลือกตั้งฮ่องกงเป็นการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ แนะไทยเดินหน้ารักษาความสัมพันธ์จีน-สหรัฐฯ อย่างสมดุล

อาร์ม ตั้งนิรันดร อาจารย์คณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อดีตผู้อำนวยการศูนย์วิจัยยุทธศาสตร์ไทย-จีน ให้สัมภาษณ์ผ่านรายการ THE STANDARD NOW เมื่อวานนี้ (12 มีนาคม) หลังจากที่การประชุมสภาประชาชนแห่งชาติ (NPC) ครั้งที่ 13 สมาชิกสภานิติบัญญัติของจีนผ่านมติรับรองการตัดสินใจยกเครื่องระบบเลือกตั้งของเขตบริหารพิเศษฮ่องกง   อาร์ม มองว่า การแก...
การเมืองสหรัฐฯ
23 มกราคม 2021

การเมืองสหรัฐฯ ยังเข้มข้น ปี 2564 ความท้าทายการเป็นประเทศต้นแบบประชาธิปไตยและหลักนิติธรรม

แม้สถานการณ์ของสหรัฐฯ จะมีการเปลี่ยนสู่ยุคประธานาธิบดีคนใหม่อย่าง โจ ไบเดน แต่ยังมีความท้าทายในหลายด้าน ทั้งการเป็นประเทศต้นแบบประชาธิปไตยและหลักนิติธรรม   ท่ามกลางสถานการณ์ที่ยังคุกรุ่นนี้ THE STANDARD ชวนอ่านมุมมองที่น่าสนใจจากนักวิชาการผ่านงานเสวนา RoLD Virtual Forum หัวข้อ THE UNITED STATES UNDER BIDEN’S PRESIDENCY : A Test for Rule ...
26 ตุลาคม 2018

สะพานเชื่อมฮ่องกง มาเก๊า และจูไห่ กับโจทย์ความมั่นคงและเป้าหมายใหญ่ทางเศรษฐกิจของจีน

จีนได้ฤกษ์เปิดใช้งานสะพานและอุโมงค์ข้ามทะเลแห่งใหม่ที่มีระยะทางยาวที่สุดในโลกรวมกว่า 55 กิโลเมตร (34 ไมล์) เมื่อวันที่ 24 ตุลาคมที่ผ่านมา ซึ่งกลายเป็นแลนด์มาร์กแห่งใหม่ดุจพญามังกรที่แหวกว่ายกลางท้องทะเล และเป็นอีกหนึ่งหมุดหมายความสำเร็จของประธานาธิบดีสีจิ้นผิง ที่มุ่งมั่นพัฒนาระบบโครงสร้างพื้นฐานเพื่อรองรับการขยายตัวทางเศรษฐกิจในบริเวณสามเหลี่ยมปาก...
20 กันยายน 2018

อาร์ม ตั้งนิรันดร คนไทยผู้รอบรู้เรื่องจีนมากที่สุดคนหนึ่ง – THE STANDARD Daily 19 กันยายน 2561

THE STANDARD Daily ประจำวันที่ 19 กันยายน 2561 เวลา 20.00 น.    จับตาสถานการณ์จีนทั้งเศรษฐกิจและการเมืองกับ อาร์ม ตั้งนิรันดร อาจารย์คณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คนไทยผู้รอบรู้เรื่องจีนมากที่สุดคนหนึ่งในยุคนี้ พร้อมประเด็นข่าวน่าสนใจ กกต. ประกาศแบ่งเขตเลือกตั้ง 350 ส.ส. จังหวัดคุณได้กี่คน แ...
7 สิงหาคม 2017

วิกฤตหรือโอกาสครั้งใหม่? ไทยจะได้และเสียอะไรจากนโยบาย One Belt One Road

     ประเด็น ‘เส้นทางสายไหมศตวรรษที่ 21’ หรือ One Belt One Road เป็นที่กล่าวถึงอย่างกว้างขวางบนเวทีนานาชาติ นับตั้งแต่ สีจิ้นผิง ประธานาธิบดีจีน ได้ประกาศแนวคิดการนำเส้นทางสายไหมมาปรับปรุงอีกครั้งในปี 2013 โดยมี 2 ยุทธศาสตร์สำคัญคือ      การพัฒนาเส้นทางสายไหมทางบก (Silk Road Economic Belt) และเส้นทางสายไหมทางทะเล (M...


Close Advertising