×

สุรชาติ บำรุงสุข

เส้นทางประชาธิปไตยเกาหลีใต้: การมีส่วนร่วม การประท้วง และการเปลี่ยนผ่าน
11 ธันวาคม 2024

เส้นทางประชาธิปไตยเกาหลีใต้: การมีส่วนร่วม การประท้วง และการเปลี่ยนผ่าน

การประกาศกฎอัยการศึกของประธานาธิบดียุนมีเวลายาวนานเพียง 3 ชั่วโมงเท่านั้น แต่ผลสืบเนื่องสำหรับอนาคตทางการเมืองของเขาและการแตกแยกทางการเมืองของประเทศจะดำเนินต่อไปยาวนานกว่านั้นมาก   ชุงมินอี, อาจารย์ด้านความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ December 5, 2024   โหมโรง   อยากจะขอเริ่มบทความนี้ด้วยมุมมองส่วนตัวของผู้เขียนสักหน่อย ในช่วงท...
สงครามยูเครน
3 พฤศจิกายน 2024

สงครามยูเครนเชื่อมต่อปัญหาคาบสมุทรเกาหลี และโจทย์ใหญ่สัมพันธ์สามเส้า จีน-รัสเซีย-เกาหลีเหนือ ที่ต้องจับตา

เป็นข่าวครึกโครมและอยู่ในเรดาร์มหาอำนาจที่เฝ้าจับตาอย่างใกล้ชิด หลังเกาหลีเหนือส่งทหารไปร่วมรบกับรัสเซียในสงครามกับยูเครน ท่ามกลางความกังวลว่า หมากก้าวนี้จะผูกปมขัดแย้งทางภูมิรัฐศาสตร์ที่แก้ยากอยู่แล้วให้เป็นเงื่อนตายที่ซับซ้อนขึ้นอีกหรือไม่ เพราะวันนี้เรามีอีกหนึ่งตัวแสดงจากคาบสมุทรเกาหลีกระโดดข้ามจีนไปร่วมสู้รบด้วย แม้ว่าที่ผ่านมาเปียงยางจะมีส่วน...
23 กรกฎาคม 2024

ชมคลิป: อ.สุรชาติ วิเคราะห์การเมืองสหรัฐฯ หลังไบเดนถอนตัว สู่โอกาสสู้ทรัมป์พลิก | THE STANDARD NOW SPECIAL

อ.สุรชาติ วิเคราะห์การเมืองสหรัฐฯ หลังไบเดนถอนตัว สู่โอกาสสู้ทรัมป์พลิก...
จีน-ฟิลิปปินส์
13 มิถุนายน 2024

ปมพิพาทจีน-ฟิลิปปินส์ในทะเลจีนใต้ สงครามใหญ่ในเอเชียมีโอกาสแค่ไหน

หนึ่งในไฮไลต์จากเวทีประชุมความมั่นคง Shangri-La Dialogue ที่สิงคโปร์ในปีนี้คือ บรรยากาศความตึงเครียดจากปมพิพาทระหว่าง จีน-ฟิลิปปินส์ ในทะเลจีนใต้ที่ยังคุกรุ่นอย่างต่อเนื่อง ทำให้หลายฝ่ายตั้งคำถามถึงความเป็นไปได้ที่ปมขัดแย้งนี้ อาจลุกลามบานปลายกลายเป็นสงครามใหญ่ครั้งใหม่ในเอเชีย   เฟอร์ดินานด์ บองบอง มาร์กอส จูเนียร์ ประธานาธิบดีฟิลิปปินส...
4 เมษายน 2024

สหรัฐฯ-จีน เดินหน้าปรับปรุงความสัมพันธ์ต่อเนื่อง ทั้งหมดสะท้อนสัญญาณบวกจริงหรือ?

ตลอดหลายเดือนที่ผ่านมาเราจะเห็นว่าทั้งฝ่ายสหรัฐฯ และจีนมีการขยับ ทั้งการแลกเปลี่ยนการพบปะระหว่างเจ้าหน้าที่ไปจนถึงรัฐมนตรี ซึ่งในมิติภูมิรัฐศาสตร์ถือได้ว่าเป็นสัญญาณบวกต่อเนื่องนับตั้งแต่ สีจิ้นผิง ประธานาธิบดีจีน ร่วมการประชุมสุดยอดผู้นำ APEC 2023 ที่เมืองซานฟรานซิสโก รัฐแคลิฟอร์เนียของสหรัฐฯ เมื่อกลางเดือนพฤศจิกายนปีที่แล้ว อันเป็นการเดินทางเยือน...
2 เมษายน 2024

ศ.ดร.สุรชาติ บำรุงสุข ประเมินผลงานการต่างประเทศไทยรอบ 6 เดือนแรก แนะคิดใหม่ ทำใหม่

ปานปรีย์ พหิทธานุกร รองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ แถลงข่าวเกี่ยวกับภาพรวมผลงานด้านการต่างประเทศไทย และผลการเยือนต่างประเทศในรอบ 6 เดือน โดยชี้ว่า ไทยกลับมาอยู่ในจอเรดาร์โลกแล้ว   ปานปรีย์ระบุว่า รัฐบาลให้ความสำคัญกับนโยบายต่างประเทศ โดยเฉพาะโลกในปัจจุบันที่มีความไม่แน่นอนและเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา ประกอบกับที่ผ่าน...
18 มกราคม 2024

‘แลนด์บริดจ์’ เมกะโปรเจกต์รัฐบาลไทย กับพื้นที่อิทธิพลมหาอำนาจโลก

เวลานี้ ‘แลนด์บริดจ์’ (Land Bridge) ถือเป็นเมกะโปรเจกต์ที่รัฐบาลไทยภายใต้การนำของนายกรัฐมนตรีเศรษฐา ทวีสิน ให้ความสำคัญเป็นอย่างมาก โดยพยายามผลักดันและจัดโรดโชว์ให้กับบรรดาผู้ประกอบการและนักลงทุนต่างประเทศอย่างต่อเนื่อง ตั้งแต่การนำเสนอโครงการนี้ในที่ประชุม Belt and Road Forum ที่กรุงปักกิ่ง ประเทศจีน เมื่อเดือนตุลาคม 2023 และนำเสนอโครงการแลนด์บริด...
เลือกตั้งไต้หวัน ในมุมมองนักวิชาการไทย
13 มกราคม 2024

เลือกตั้งไต้หวัน ในมุมมองนักวิชาการไทย

มุมมองของนักวิชาการไทยที่มีต่อการเลือกตั้งประธานาธิบดีไต้หวัน 2024 ในประเด็นที่ว่า การเลือกตั้งครั้งนี้มีความสำคัญอย่างไร และมีประเด็นใดน่าจับตามองบ้าง   ไต้หวันจะจัดการเลือกตั้งประธานาธิบดีไต้หวันขึ้นในวันที่ 13 มกราคมนี้ โดยผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้งจะก้าวขึ้นสู่เก้าอี้ผู้นำคนใหม่ของไต้หวัน ซึ่งจะมีบทบาทสำคัญอย่างมากในการกำหนดทิศทางและ...
สุรชาติ บำรุงสุข
27 ธันวาคม 2023

ดร.สุรชาติมองโลกปี 2023 กับ 5 โจทย์ใหญ่ท้าทายในปี 2024

ตลอดปี 2023 ที่ผ่านมา โลกเต็มไปด้วยความผันผวน สงครามและความขัดแย้งยังคงปะทุขึ้นต่อเนื่อง สร้างแรงกระเพื่อมให้กับชีวิตผู้คนทั่วโลกไม่ทางใดก็ทางหนึ่ง   ขณะที่ “โลกในปี 2024 วิกฤตโลกไม่จบ โลกผันผวนไม่หยุด ประเทศใหญ่เหนื่อย ประเทศเล็กเปราะบาง”   ศ.กิตติคุณ ดร.สุรชาติ บำรุงสุข ผู้เชี่ยวชาญด้านความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ยุทธศาสตร์ทหา...
25 ธันวาคม 2023

2024 ปีเลือกตั้งชี้ชะตาโลก ‘ความหวัง’ หรือ ‘ชนวนระเบิด’ ทางภูมิรัฐศาสตร์

ปฏิเสธไม่ได้ว่าหัวใจหลักของระบอบประชาธิปไตยคือการใช้สิทธิออกเสียงของประชาชน ในการลงคะแนนเลือกตั้งเพื่อให้ได้มาซึ่งผู้แทนหรือผู้นำที่จะมาบริหารประเทศ    โดยตลอดหลายปีที่ผ่านมา มีคำกล่าวที่ว่า “ประชาธิปไตยกำลังจะตาย” ในหลายประเทศทั่วโลก ไม่เว้นต้นแบบของประชาธิปไตย เช่น อังกฤษ และสหรัฐฯ ที่เผชิญความท้าทายทางการเมืองมากมาย   ...


Close Advertising
X