×

ศาสนา

อินโดฯ สั่งปราบจลาจลในปาปัว
24 กันยายน 2019

อินโดฯ สั่งปราบจลาจลในปาปัว ตายแล้วอย่างน้อย 26 ราย บาดเจ็บอีก 72 ราย

หลังจากเกิดเหตุประท้วงครั้งใหญ่ในจังหวัดปาปัวของอินโดนีเซียเมื่อช่วงเดือนสิงหาคมที่ผ่านมา เพื่อเรียกร้องให้รัฐบาลอินโดนีเซียพิจารณาจัดการลงประชามติเกี่ยวกับเอกราชของปาปัว   ล่าสุดทางการอินโดนีเซียมีคำสั่งปราบจลาจลในปาปัวระลอกใหม่ เป็นเหตุให้มีผู้เสียชีวิตแล้วอย่างน้อย 26 ราย ได้รับบาดเจ็บอีก 72 ราย   โดยกลุ่มผู้ชุมนุมประท้วงจำ...
21 กรกฎาคม 2019

ศาสนากำลังเสื่อม? Demonic งานภาพถ่ายที่ชวนคุณตั้งคำถามกับผ้าเหลือง

นับเป็นหนึ่งในนิทรรศการที่น่าสนใจมากๆ ที่สุดในเดือนกรกฎาคมนี้ กับนิทรรศการภาพถ่ายที่ว่าด้วยคำว่า ‘ผี’ ที่ชื่อว่า ‘Demonic’ แต่คำว่าผีที่กำลังเสนอกลับถูกโอบคลุมไว้ด้วยผ้าเหลือง อันเป็นสัญลักษณ์ของพระสงฆ์ใต้ร่มศาสนาพุทธ ซึ่งศิลปินอย่าง ‘อัครา นักทำนา’ ได้แรงบันดาลใจมาจากเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นไม่นานมานี้ จากข่าวเงินทอนวัดอันโด่งดัง ที่อาจทำให้เราต้องมาน...
16 สิงหาคม 2018

ผู้หญิงคือพระเจ้า รู้จัก Goddess Movement ขบวนการรื้อฟื้นศาสนาผู้หญิงในโลกตะวันตก

ทศวรรษ 1970 เป็นช่วงที่เกิดกระบวนการที่ต้องการรื้อฟื้นศาสนาที่มีผู้หญิงเป็นเทพ หรือเป็นใหญ่ขึ้นในโลกตะวันตก ทั้งนี้เป็นผลมาจากคำถามที่ว่าทำไมศาสนาใหญ่ทั่วโลกจึงต้องมีศาสดาหรือพระเจ้าเป็นผู้ชาย ไม่ว่าจะเป็นพระพุทธเจ้า พระมหาวีระ พระเยซู หรือแม้แต่ขงจื๊อ   ขบวนการรื้อฟื้นนี้เรียกว่า ‘Goddess Movement’ ขอแปลคร่าวๆ ว่า ‘ขบวนการบูชาเทวสตรี’ ...
7 มิถุนายน 2018

พระพยอมมองวิกฤตสงฆ์ บทบาทรัฐ ลาภสักการะเกินจนล้น และศรัทธาที่ไร้ปัญญาของคนไทย

ท่ามกลางกระแสข่าวจับกุมขบวนการทุจริตที่ข้าราชการร่วมมือกับพระผู้ใหญ่ในวงการสงฆ์ ยังไม่นับรวมปัญหาในวงการสงฆ์ที่ถูกเปิดโปงมาไม่เว้นแต่ละวัน   ทั้งมิติที่รัฐเกี่ยวข้องในการให้งบประมาณ หรือการแสวงหารายได้ของวัดในทางที่สังคมมีความเห็นเป็นสองทาง ด้านหนึ่งเห็นว่าจำเป็น ไม่ว่าจะเป็นการปลุกเสก การสะเดาะเคราะห์ ทำวัตถุมงคล เพื่อรองรับภาระค่าใช้จ...
16 กุมภาพันธ์ 2018

รัฐนาฏกรรมสมัยใหม่

ผมสะดุดตา ‘หุ่นยักษ์นนทก’ ในขบวนล้อการเมืองงานฟุตบอลประเพณีจุฬาฯ-ธรรมศาสตร์ ครั้งที่ 72 ที่เพิ่งผ่านมา มันสะท้อนความเป็น ‘รัฐนาฏกรรมสมัยใหม่’ ของไทยได้ชัดเจนดี   รัฐนาฏกรรมยุคก่อนสมัยใหม่หรือยุคกลางย้อนไป รัฐคือการแสดงอำนาจบารมีของชนชั้นปกครองบนฐาน ‘ความเชื่อทางศาสนา’ โดยแสดงให้เห็นว่าผู้ปกครองเป็นอวตารของเทพ เป็นสมมติเทพ พระโพธิสัตว์ หร...
30 มกราคม 2018

กระแสเตโชวิปัสสนา ฆราวาส(หญิง)บรรลุธรรม แล้วทำไมต้องกึ่งพุทธกาล?

ในช่วงประมาณสัปดาห์ที่ผ่านมา เกิดกระแสวิพากษ์วิจารณ์บนโซเซียลมีเดียอย่างหนักถึงกระแสฆราวาสบรรลุธรรม ในกรณีของคุณอัจฉราวดี วงศ์สกล เจ้าสำนักเตโชวิปัสสนาสถาน และประธานองค์กรโนอิ้ง บุดด้า (Knowing Buddha Organization)     โดยเริ่มกระแสวิจารณ์ภาพถ่ายของคุณอัจฉราวดีที่ปรากฏแสงเป็นวงสีแดง-สีเขียว โดยกล่าวในกลุ่มลูกศิษย์ว่าเป็นรัศมีธรร...
14 กรกฎาคม 2017

ใช้ ‘สมาร์ตการ์ด’ แทน ‘ใบสุทธิ’ หวังจัดระเบียบสงฆ์-พระปลอม รัฐมาถูกทางหรือไม่?

     “คาดว่าภายใน 3 เดือนจะเป็นรูปธรรมมากขึ้น” คือควาบคืบหน้าล่าสุดกรณีทำบัตรสมาร์ตการ์ดพระสงฆ์แทนใบสุทธิจาก ออมสิน ชีวะพฤกษ์ รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 13 ก.ค. ที่ผ่านมา ภายหลังการประชุมหารือกับมหาเถรสมาคม (มส.)      ขณะเดียวกันออมสินยืนยันว่า จะไม่มีการยกเลิกใบสุทธิ หรือบัตรประจำตัวพระเดิมแต่อย่างใ...
21 มิถุนายน 2017

ก่อนศรัทธาจะจางหาย ทำไมวัดควรเปิดเผยบัญชีรายรับ-รายจ่าย?

     จำได้ไหมว่าครั้งสุดท้ายที่คุณหย่อนเงินลงตู้บริจาคเพื่อทำบุญให้กับวัดคือเมื่อไร และคำถามที่สำคัญไปกว่านั้นคือ คุณรู้ไหมว่าตอนนี้เงินเหล่านั้นไปอยู่ที่ไหน      เชื่อว่าคำตอบของพุทธศาสนิกชนส่วนใหญ่ในวันนี้คือ 'ไม่รู้' เพราะทันทีที่เงินถูกหย่อนลงตู้รับบริจาค หรือแม้แต่นาทีที่เรายื่นซองทำบุญให้กับวัด เงินเหล่านั้นก็...
7 มิถุนายน 2017

‘รัฐ-ศาสนา’ ในวันที่ความสัมพันธ์ถูกตั้งคำถาม

     สังคมไทยกำลังเผชิญหน้ากับข้อถกเถียงเรื่องความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับศาสนาในมิติต่างๆ มีความไม่ลงรอยกันระหว่างรัฐกับกลุ่มทางศาสนา เช่น รัฐเข้าไปแก้ไขพ.ร.บ.คณะสงฆ์ในประเด็นเรื่องการแต่งตั้งสมเด็จพระสังฆราช รวมถึงแต่งตั้งสมเด็จพระสังฆราชองค์ใหม่สำเร็จ ขณะเดียวกันในรัฐธรรมนูญก็มีความพยายามที่จะบัญญัติให้พุทธศาสนาเป็นศาสนาประจำชาติ อีก...


Close Advertising
X