×

วิทยาศาสตร์

ดาวเคราะห์น้อยริวกุ
6 มิถุนายน 2022

ญี่ปุ่นพบกรดอะมิโนกว่า 20 ชนิด จากตัวอย่างดาวเคราะห์น้อย ‘ริวกุ’

วันนี้ (6 มิถุนายน) แหล่งข่าวจากกระทรวงศึกษาธิการญี่ปุ่นเปิดเผยการตรวจพบกรดอะมิโนมากกว่า 20 ชนิด ในตัวอย่างที่เก็บมาจากพื้นผิวดาวเคราะห์น้อยริวกุ (Ryugu) ซึ่งอยู่ห่างจากโลกมากกว่า 300 ล้านกิโลเมตร โดยยานสำรวจ ‘ฮายาบูสะ 2’ (Hayabusa-2) ของประเทศ   สื่อท้องถิ่นรายงานว่า กรดอะมิโนที่ค้นพบอาจจำเป็นต่อการยังชีพ และอาจซุกซ่อนเบาะแสสำหรับทำความ...
ประยุทธ์ จันทร์โอชา
15 พฤษภาคม 2022

ประยุทธ์ ชื่นชมเยาวชนไทยคว้า 10 รางวัล คิดเครื่องมือวินิจฉัยมะเร็ง บนเวทีประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ระดับโลก

วันนี้ (15 พฤษภาคม) รัชดา ธนาดิเรก รองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี เปิดเผยว่า พล.อ. ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ชื่นชมและแสดงความยินดีกับความสำเร็จของเยาวชนไทยที่สร้างชื่อเสียงให้กับประเทศ คว้า 10 รางวัล จากการประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมสำหรับเยาวชนระดับโลก Regeneron International Science and Engineering Fa...
DNA
28 กุมภาพันธ์ 2022

28 กุมภาพันธ์ 1953 – ค้นพบโครงสร้างของดีเอ็นเอ (DNA)

ผู้ค้นพบ DNA คือ ฟรีดริช มิเชอร์ ใน พ.ศ. 2412 (ค.ศ. 1869) แต่ยังไม่ทราบว่ามีโครงสร้างอย่างไร จนเมื่อวันที่ 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2496 (ค.ศ. 1953) เจมส์ ดี. วัตสัน และฟรานซิส คริก เป็นผู้รวบรวมข้อมูล และสร้างแบบจำลองโครงสร้างของดีเอ็นเอ (DNA Structure Model) จนทำให้ได้รับรางวัลโนเบลในปี 1962 และเป็นจุดเริ่มต้นของยุคเทคโนโลยีทาง DNA มีชื่อแบบเต็มว่า กรด...
Ceramides and hyaluronic acid
1 กุมภาพันธ์ 2022

เทียบจุดเด่นชัดๆ ของสารคงความชุ่มชื้นสุดปัง ระหว่าง เซราไมด์ กับ กรดไฮยาลูโรนิก

เมื่อพูดถึงการเลือกผลิตภัณฑ์ที่จะช่วยเติมเต็มความชุ่มชื้นให้ผิว หลายคนมักจะมองหาส่วนผสมที่ตอบโจทย์เรื่องนี้โดยเฉพาะ ด้วยการพลิกอ่านส่วนผสมที่ระบุบนฉลากของบรรจุภัณฑ์บำรุงผิวต่างๆ และส่วนผสมที่เป็นสารคงความชุ่มชื้นที่เรามักจะคุ้นเคย และได้รับความนิยมมาก ได้แก่ สารคงความชุ่มชื้นสุดปังอย่าง เซราไมด์ และกรดไฮยาลูโรนิก หากจะเทียบให้เห็นถึงจุดเด่นของสารทั...
ปอยาบเลื้อย
31 มกราคม 2022

นักวิจัยกรมอุทยานแห่งชาติฯ ค้นพบพันธุ์ไม้ชนิดใหม่ของโลก ‘ปอยาบเลื้อย’ ที่จังหวัดตาก

วันนี้ (31 มกราคม) เสริมพงศ์ นวลงาม นักวิชาการป่าไม้ชำนาญการพิเศษ หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ สำนักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 16 สาขาแม่สะเรียง เปิดเผยว่า ได้สำรวจพบพันธุ์ไม้เลื้อยสกุลปอยาบ (Grewia) วงศ์ชบา (Malvaceae) แต่ไม่ทราบชนิด จากป่าในท้องที่อำเภอท่าสองยาง จังหวัดตาก เมื่อวันที่ 20 กันยายน 2020   จากนั้นได้ส่งตัวอย่างไปให้ ศ.ดร.ประนอม จั...
สมอง
27 กันยายน 2021

หากชิป AI ทำงานได้เหมือนสมองมนุษย์? Samsung และ Harvard ร่วมมือวิจัย ‘ชิป’ ที่เลียนแบบโครงสร้างสมองมนุษย์สำหรับ AI

มนุษย์เรามีชีวิตเหนือสิ่งมีชีวิตอื่น และพัฒนามาเรื่อยๆ ตั้งแต่หลายแสนปีที่แล้ว เครื่องมือที่สำคัญที่ทำให้มนุษย์อยู่เหนือห่วงโซ่อาหารได้คือ ‘สมอง’ การที่เทคโนโลยีและวิทยาศาสตร์ที่ถูกสร้างโดยมนุษย์ก้าวหน้าขึ้นไปเรื่อยๆ จนกระทั่งสามารถสร้างอุปกรณ์ที่สามารถคิดและทำงานแทนมนุษย์ได้หลากหลายสิ่ง ซึ่งสิ่งที่ทำหน้าที่คิดของอุปกรณ์เหล่านี้ คล้ายกับสมองของมนุษ...
Machu Picchu
13 สิงหาคม 2021

นักวิจัยพบหลักฐานชี้ว่า ‘มาชูปิกชู’ อาจเก่าแก่กว่าที่เราคิด

แม้มนุษย์จะค้นพบ ‘มาชูปิกชู’ (Machu Picchu) มานานกว่าร้อยปี แต่ที่นี่ก็ยังเป็นสนามทำงานของเหล่านักวิจัยทั่วโลกอยู่จวบจนปัจจุบัน ล่าสุดดูเหมือนวิทยาศาสตร์จะทำให้เราเข้าใกล้ความจริงขึ้นอีกขั้น เมื่อทีมวิจัยระบุว่า จักรพรรดิปาชากูตี ผู้สร้างมาชูปิกชู อาจขึ้นสู่อำนาจเร็วกว่าที่บันทึกไว้นับสิบปี   การศึกษานี้ใช้วิธีตรวจหาอายุคาร์บอนจากธาตุกัม...
NASA ประสบความสำเร็จในการนำ ‘เฮลิคอปเตอร์ขนาดเล็ก’ ขึ้นบินบนดาวอังคาร
19 เมษายน 2021

NASA ประสบความสำเร็จในการนำ ‘เฮลิคอปเตอร์ขนาดเล็ก’ ขึ้นบินบนดาวอังคาร

องค์การบริหารการบินและอวกาศแห่งชาติ หรือ NASA สร้างประวัติศาสตร์หน้าใหม่ในแวดวงเทคโนโลยีอวกาศได้สำเร็จ เมื่อพวกเขาสามารถนำ ‘เฮลิคอปเตอร์ขนาดเล็ก’ หรือเจ้า Ingenuity (หมายความถึงความชาญฉลาด และสิ่งประดิษฐ์) ขึ้นบินบนดาวอังคารผ่านการควบคุมจากทางไกลบนโลกมนุษย์ได้สำเร็จเป็นครั้งแรก แม้ว่าการบินในครั้งนี้จะเกิดขึ้นในช่วงระยะเวลาสั้นๆ ก็ตาม   ...
ปัญหาโลกร้อนทำให้การไหลเวียนของกระแสน้ำแอตแลนติก (AMOC) อ่อนแรงลงมากที่สุดในรอบพันปี
3 มีนาคม 2021

ปัญหาโลกร้อนทำให้การไหลเวียนของกระแสน้ำแอตแลนติก (AMOC) อ่อนแรงลงมากที่สุดในรอบพันปี

เคยสงสัยไหมว่า ทำไมอากาศในกรุงลอนดอนของอังกฤษถึงอบอุ่นกว่าเมืองซัปโปโรของญี่ปุ่นทั้งที่อยู่ใกล้ขั้วโลกเหนือมากกว่า    กลไกทางธรรมชาติที่ควบคุมอุณหภูมิของประเทศในแถบละติจูดสูงๆ ไม่ให้แตกต่างจากประเทศในแถบร้อนมากจนเกินไปนั้น คือการไหลเวียนของกระแสน้ำในมหาสมุทรอันเกิดจากแรงดันของเกลือที่เรียกว่า กระแสน้ำเทอร์โมฮาไลน์(Thermohaline Circu...
Oumuamua ข่าวประหลาดจากต่างดาวที่ท้าทาย ‘ความบ้า’ และ ‘ความกล้า’ ในวงการวิทยาศาสตร์
9 กุมภาพันธ์ 2021

Oumuamua ข่าวประหลาดจากต่างดาวที่ท้าทาย ‘ความบ้า’ และ ‘ความกล้า’ ในวงการวิทยาศาสตร์

เมื่อเร็วๆ นี้ นักฟิสิกส์ดาราศาสตร์จากฮาร์วาร์ดคนหนึ่งให้สัมภาษณ์เรื่องที่น่าสนใจมาก นั่นคือเป็นไปได้อย่างยิ่ง - ที่เมื่อไม่กี่ปีก่อน จะมี ‘ยานอวกาศ’ จากกาแล็กซีอื่นผ่านเข้ามาในระบบสุริยะของเรา   นี่ไม่ใช่เรื่องล้อเล่น เพราะเขาเขียนร่างบทความทางวิชาการเพื่อตีพิมพ์ในวารสาร Astrophysical Journal Letters กันเลยทีเดียว (ดูรายละเอียดได้ที่นี่...


Close Advertising