×

วิทยาศาสตร์

10 มีนาคม 2023

นักวิทยาศาสตร์​ปลุกไวรัส ‘ซอมบี้’ ที่นอนนิ่ง​อยู่ใน​ชั้นดินเยือกแข็งนานถึง 48,500 ปี ให้ตื่นขึ้น​มาอีก​ครั้ง​

ปฏิเสธไม่ได้ว่าปัญหาโลกร้อนที่เรากำลังเผชิญทุกวันนี้กำลังทวีความรุนแรงขึ้นเรื่อยๆ ผลกระทบที่เกิดขึ้นนอกจากที่มนุษย์ต้องพบกับสภาพอากาศที่เลวร้ายต่างๆ เช่น ฝนหนักสุดขั้ว พายุรุนแรง ภาวะแล้งจัด หรือการที่เมืองชายฝั่งทะเลทั่วโลกต้องเตรียมอพยพผู้คนหนีระดับน้ำทะเลที่สูงขึ้นแล้ว ยังมีอีกหนึ่งภัยซ่อนเร้นที่เราอาจมองข้ามไป นั่นคือเหล่าไวรัสและจุลชีพโบราณที่...
Mark Zuckerberg
25 กุมภาพันธ์ 2023

Meta เปิดตัว ‘LLaMA’ หวังสู้สังเวียน ‘AI’ มาร์ก ซักเคอร์เบิร์ก โวสามารถแก้ปัญหาคณิตศาสตร์และทำวิจัยทางวิทยาศาสตร์ได้

Meta บริษัทแม่ของ Facebook และ Instagram ประกาศเปิดตัวปัญญาประดิษฐ์ (AI) ที่มีชื่อเรียกว่า ‘LLaMA’ ซึ่งถูกพัฒนาด้วยโมเดลภาษาขนาดใหญ่ Large Language Model (LLM) โดยทีม Fundamental AI Research (FAIR) ของบริษัทเพื่อมาแข่งขันกับ ChatGPT ของ OpenAI และ Bard ของ Google   มาร์ก ซักเคอร์เบิร์ก ซีอีโอของ Meta ได้โพสต์ข้อความลงในเฟซบุ๊กส่วนตัวระบุ...
22 กุมภาพันธ์ 2023

วงรอบการป้อนกลับทางภูมิอากาศคืออะไร ทำไมการค้นพบ 27 วงรอบที่อาจซ้ำเติมภาวะโลกร้อนแบบกู่ไม่กลับจึงน่ากังวล

ภูมิอากาศโลกนั้นค่อนข้างซับซ้อน ประกอบขึ้นด้วย 5 ระบบใหญ่ อันได้แก่ ชั้นบรรยากาศ เปลือกโลกชั้นบน ทะเลและมหาสมุทร ชั้นน้ำแข็ง และเหล่าสิ่งมีชีวิต ในการศึกษาเรื่องโลกร้อน เราพบว่าการเปลี่ยนแปลงทางภูมิอากาศนั้นไม่ได้มีลักษณะพุ่งตรงไปข้างหน้าอย่างเดียว แต่มีลักษณะที่ ‘ผล’ ของโลกร้อนในระบบหนึ่ง เกิด ‘การวนกลับ’ ไปส่งเสริมหรือตัดทอน ‘สาเหตุ’ ของโลกร้อนใน...
2 กุมภาพันธ์ 2023

นักฟิสิกส์พบวิธีการใช้คลื่นความโน้มถ่วงค้นหาจุดเริ่มต้นของกาลเวลา

เมื่อเริ่มกำเนิดเอกภพในเหตุการณ์ ‘บิ๊กแบง’ จักรวาลเริ่มมีแรงพื้นฐานทั้งสี่ จากนั้นอนุภาคมูลฐานต่างๆ ก็เริ่มก่อกำเนิดขึ้น แต่ทั้งหมดยังเต็มไปด้วยความมืดมิดจวบจนอนุภาคโฟตอนแรก หรือ ‘แสง’ กำเนิดตามมา    นั่นคือเหตุการณ์เมื่อ 13,800 ล้านปีก่อน นักฟิสิกส์ต่างพยายามศึกษาจักรวาลในช่วงเวลาของการก่อกำเนิดดังกล่าว แต่ก็ยังไม่มีเครื่องมือที่เห...
27 มกราคม 2023

ผลการศึกษาพบ แก่นโลกชั้นในอาจหยุดหมุน หรืออาจไปถึงขั้นหมุนกลับข้าง

โลกของเรามีโครงสร้างที่ซ้อนกันเป็นชั้นๆ เปรียบเทียบให้เห็นภาพง่ายๆ เหมือนไข่ไก่ มีไข่แดงรูปร่างเป็นทรงกลมอยู่ตรงกลาง เทียบได้กับ ‘แก่นโลก’ มีรัศมีประมาณ 3,486 กิโลเมตร ส่วนไข่ขาวนั้นเทียบได้กับ ‘เนื้อโลก’ มีความหนาประมาณ 2,885 กิโลเมตร และที่อยู่นอกสุด ซึ่งเป็นส่วนที่บางที่สุดของไข่นั่นคือเปลือกไข่ เทียบได้กับเปลือกโลก ซึ่งบางมากๆ โดยเปลือกส่วนมหาส...
Matichon Academy
24 พฤศจิกายน 2022

#เปิดโกดังหนังสือดี เครือมติชน กลับมาอีกครั้ง 25 พ.ย. – 4 ธ.ค. นี้ ที่ Matichon Academy เริ่มต้นที่ 10 บาท

กลับมาอีกครั้งสำหรับงานเปิดโกดังสุดยิ่งใหญ่แห่งปี 2022 ของสำนักพิมพ์มติชน ปีนี้ประกาศเชิญชวนนักอ่านกลับมารวมตัวกันอย่างอบอุ่นในจักรวาลหนังสืออีกหน   เปิดประตูสู่โกดังหนังสือหลากหลายแนว ไม่ว่าจะเป็นประวัติศาสตร์ การเมือง มานุษยวิทยา เศรษฐศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ปรัชญา จิตวิทยา รวมทั้งหนังสือใหม่ หนังสือเก่า หนังสือหายาก หนังสือสะสมที่ตามหามานา...
12 ตุลาคม 2022

ไม่ใช่นิสัย แต่มันคือวิถี! วิทยาศาสตร์ชี้ คนขี้เกียจมีแนวโน้มจะเป็นคนฉลาด ประสบความสำเร็จสูง และเป็นลูกจ้างที่ดีกว่า

โลกเรามีศัพท์มากมาย และศัพท์ต่างๆ สามารถแบ่งโซนได้ว่าอยู่โซนบวก (Positive) โซนกลางๆ (Neutral Zone) หรือโซนลบ (Negative) ขึ้นชื่อว่าความขี้เกียจ เราอาจมองว่ามันเป็นสิ่งที่แย่ และยังไงก็อยู่ในโซนลบแน่ๆ แต่ถ้ามันไม่ได้เป็นอย่างที่เราเข้าใจล่ะ? ถ้าหากความขี้เกียจสามารถทำให้คนประสบความสำเร็จได้ หรือมันบ่งชี้ว่าแท้จริงแล้วคนคนนั้นเป็นคนฉลาดถึงขั้นอัจฉริย...
4 ตุลาคม 2022

3 นักวิทยาศาสตร์ สหรัฐฯ ฝรั่งเศส ออสเตรีย ร่วมคว้ารางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ จากผลงานวิจัยเทคโนโลยีควอนตัม

คณะกรรมการรางวัลโนเบล ประกาศผลรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ประจำปีนี้ โดยมีผู้ชนะรางวัลร่วมเป็นนักวิทยาศาสตร์ 3 คน ได้แก่ ศาสตราจารย์จอห์น ฟรานซิส เคลาเซอร์ นักฟิสิกส์ทฤษฎีและการทดลองชาวอเมริกัน, ศาสตราจารย์อาแลง อาสเป นักฟิสิกส์เชิงทดลองชาวฝรั่งเศส และศาสตราจารย์อันตัน เซลลิงเกอร์ นักฟิสิกส์ควอนตัมชาวออสเตรีย จากผลงาน ‘การศึกษาทดลองการพัวพันเชิงควอนตัม (...
ชาร์ลส์ ดาร์วิน
2 ตุลาคม 2022

2 ตุลาคม 1836 – ชาร์ลส์ ดาร์วิน สิ้นสุดการเดินเรือสำรวจทางธรรมชาติวิทยานาน 5 ปี

ชาร์ลส์ ดาร์วิน นักธรรมชาติวิทยาได้เดินทางไปกับเรือสํารวจบีเกิลของรัฐบาลอังกฤษ ซึ่งเดินทางไปสํารวจและทําแผนที่ของฝั่งของทะเลทวีปอเมริกาใต้   ตลอดการเดินทางไปกับเรือหลวงบีเกิลเป็นเวลาเกือบ 5 ปี (27 ธันวาคม ค.ศ. 1831 ถึง 2 ตุลาคม ค.ศ. 1836) ดาร์วินได้เรียนรู้และมีประสบการณ์มากมาย เขาได้แนวความคิดและการวิเคราะห์จากสิ่งท่ีได้พบเห็น รวมทั้งส...
มะเขือเทศสีม่วง
20 กันยายน 2022

มะเขือเทศไม่ใช่ ‘สีแดง’ อีกต่อไป ล่าสุด USDA ได้อนุมัติมะเขือเทศ ‘สีม่วง’ จากการดัดแปลงพันธุกรรมแล้ว

มะเขือเทศ ‘สีแดง’ สามารถพบเห็นได้ทั่วไปตามท้องตลาด แต่ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไปเราอาจได้พบเจอกับมะเขือเทศ ‘สีม่วง’ เพิ่มมากขึ้น เพราะล่าสุดกระทรวงเกษตรของสหรัฐอเมริกา (USDA) ได้อนุมัติมะเขือเทศสีม่วงดัดแปลงพันธุกรรมเป็นที่เรียบร้อยแล้ว   การดัดแปลงดังกล่าวมาจาก Norfolk Plant Sciences ซึ่งมะเขือเทศสีม่วงนี้มีรสชาติที่ไม่แตกต่างจากมะเขือเทศสี...


Close Advertising
X