×

วันศารทวิษุวัต

วันครีษมายัน
21 มิถุนายน 2024

วันนี้ ‘วันครีษมายัน’ กลางวันยาวนานที่สุดในรอบปี

สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) (สดร.) หรือ NARIT กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) เผยแพร่ข้อมูลว่า วันนี้ (21 มิถุนายน) เป็น ‘วันครีษมายัน’ (Summer Solstice) ซึ่งช่วงเวลากลางวันยาวที่สุดในรอบปี ดวงอาทิตย์จะขึ้นทางทิศตะวันออกเฉียงไปทางเหนือมากที่สุด และตกทางทิศตะวันตกเฉียงไปทางเหนือมากที่สุด นับเป็นวันที่ประเทศทาง...
23 กันยายน 2022

วันนี้เป็นวัน ‘ศารทวิษุวัต’ กลางวันและกลางคืนยาวเท่ากัน ซีกโลกเหนือเข้าสู่ฤดูใบไม้ร่วง ซีกโลกใต้เข้าสู่ฤดูใบไม้ผลิ

วันนี้ (23 กันยายน) ศุภฤกษ์ คฤหานนท์ ผู้อำนวยการศูนย์บริการวิชาการและสื่อสารทางดาราศาสตร์ แห่งสถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ สดร. กล่าวว่า วันที่ 23 กันยายน 2565 เป็นวันศารทวิษุวัต (Autumnal Equinox) เวลากลางวันเท่ากับกลางคืน คำว่า Equinox มีรากศัพท์มาจากภาษาละติน 2 คำ คือ Aequus แปลว่า เท่ากัน และ Nox แปลว่า กลางคืน ดังนั้น Equi...
วันศารทวิษุวัต
20 กันยายน 2019

23 กันยายนนี้เป็น ‘วันศารทวิษุวัต’ หรือช่วงกลางวันยาวเท่ากลางคืน เกิดขึ้นเพียง 2 ครั้งต่อปี

สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) (สดร.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม เผยว่า 23 กันยายน 2562 เป็นวันศารทวิษุวัต ดวงอาทิตย์ขึ้นทางทิศตะวันออกและตกทางทิศตะวันตกพอดี   ทำให้ช่วงเวลากลางวันและกลางคืนยาวเท่ากัน ถือเป็นวันเปลี่ยนฤดูกาลเข้าสู่ฤดูใบไม้ร่วงของประเทศทางซีกโลกเหนือ และเปลี่ยนสู่ฤดูใบไม้ผลิของประเทศในซ...
21 กันยายน 2017

‘กลางวันยาวเท่ากลางคืน’ รู้จัก ‘วันศารทวิษุวัต’ 23 กันยายนนี้

     หลายคนอาจไม่รู้ว่าวันเสาร์ที่ 23 กันยายน 2560 เป็นวันศารทวิษุวัต ที่จะทำให้เวลากลางวันยาวนานเท่ากับตอนกลางคืน แถมยังเป็นวันที่ประเทศทางซีกโลกเหนือจะย่างเข้าสู่ฤดูใบไม้ร่วง และซีกโลกใต้จะเข้าสู่ฤดูใบไม้ผลิ      วันศารทวิษุวัตสำคัญอย่างไร?      สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ N...


Close Advertising
X