×

ระบบสุริยะ

7 ธันวาคม ดาวพฤหัสบดีอยู่ใกล้โลกที่สุดในรอบปี
6 ธันวาคม 2024

7 ธันวาคม ดาวพฤหัสบดีอยู่ใกล้โลกที่สุดในรอบปี

วันที่ 7 ธันวาคมนี้ ดาวพฤหัสบดีอยู่ในตำแหน่งใกล้โลกที่สุดในปี 2024 สามารถมองเห็นด้วยตาเปล่าได้ตลอดคืน   ดาวพฤหัสบดีเป็นดาวเคราะห์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในระบบสุริยะ มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางมากกว่า 11 เท่าของโลก โดยในวันที่ 7 ธันวาคม ดาวพฤหัสบดีจะอยู่ในตำแหน่งตรงข้ามดวงอาทิตย์ หรือเรียกว่า Jupiter Opposition หมายความว่าดวงอาทิตย์ โลก และดาวพฤห...
27 ตุลาคม 2024

ดาวหาง C/2024 L5 จะถูกเหวี่ยงออกจากระบบสุริยะ หลังโคจรเข้าไปเฉียดใกล้ดาวเสาร์

นักดาราศาสตร์พบว่าดาวหาง C/2024 L5 (ATLAS) จะถูกเหวี่ยงออกจากระบบสุริยะไปตลอดกาล หลังโคจรเข้าไปเฉียดใกล้ดาวเสาร์เมื่อปี 2022   ดาวหางดวงนี้ถูกพบเป็นครั้งแรกในวันที่ 14 มิถุนายน 2024 โดยระบบติดตามดาวเคราะห์น้อย โครงการ ATLAS หรือ Asteroid Terrestrial-impact Last Alert System ซึ่งเป็นระบบเดียวกับที่ร่วมค้นพบดาวเคราะห์น้อย C/2023 A3 หรือดาว...
2 ตุลาคม 2024

นักดาราศาสตร์พบดาว Barnard b ดาวเคราะห์หินที่โคจรรอบดาวฤกษ์ดวงเดี่ยวใกล้โลกที่สุด

นักดาราศาสตร์ยืนยันการค้นพบดาว Barnard b ดาวเคราะห์หินที่โคจรรอบดาว Barnard’s Star ดาวฤกษ์ดวงเดี่ยวที่อยู่ใกล้กับระบบสุริยะที่สุด   ระบบดาวดังกล่าวอยู่ห่างจากโลกไปประมาณ 6 ปีแสง และเป็นระบบดาวที่อยู่ใกล้ระบบสุริยะเป็นอันดับสองต่อจากระบบ Alpha Centauri อันประกอบด้วยดาวฤกษ์ 3 ดวง และดาวเคราะห์อย่างน้อย 1 ดวง ทำให้ Barnard’s Star เป็นดาวฤกษ...
ดาวเคราะห์น้อยเบนนู
9 กรกฎาคม 2024

ดาวเคราะห์น้อยเบนนู อาจเป็นส่วนหนึ่งของดาวแห่งมหาสมุทรในอดีต

นักวิทยาศาสตร์เผยข้อมูลใหม่จากการศึกษาตัวอย่างหินของ ดาวเคราะห์น้อยเบนนู (Bennu) พบว่า ดาวดวงนี้อาจเป็นซากชิ้นส่วนที่แตกออกจากดาวที่ปกคลุมด้วยมหาสมุทรในอดีต    ข้อมูลการศึกษาตัวอย่างหินขั้นเบื้องต้นถูกเผยแพร่ในวารสาร Meteoritics & Planetary Science เมื่อวันที่ 26 มิถุนายน พบว่า ดาวเคราะห์น้อยดวงนี้มีองค์ประกอบของคาร์บอนและไนโตรเ...
Voyager 1
24 เมษายน 2024

ยาน Voyager 1 ส่งข้อมูลกลับโลกจากสุดขอบระบบสุริยะ ครั้งแรกในรอบ 5 เดือน

NASA ก็พาเธอกลับมาได้... ยาน Voyager 1 ส่งข้อมูลกลับโลกจากสุดขอบระบบสุริยะได้ตามปกติอีกครั้ง หลังประสบปัญหากับระบบคอมพิวเตอร์บนยานมานานกว่า 5 เดือน   ย้อนกลับไปเมื่อวันที่ 14 พฤศจิกายน 2023 ข้อมูลด้านวิศวกรรมและอุปกรณ์สำรวจวิทยาศาสตร์ที่ยาน Voyager 1 ส่งกลับโลก ไม่สามารถถอดค่าเป็นข้อมูลที่ใช้งานได้ จากปัญหากับ 1 ใน 3 ของคอมพิวเตอร์บนยาน ...
ดาวหางฮัลเลย์
9 ธันวาคม 2023

ดาวหางฮัลเลย์เดินทางถึงจุดไกลดวงอาทิตย์ที่สุด ก่อนเริ่มการเดินทางกลับเข้าสู่ระบบสุริยะชั้นในอีกครั้ง

ช่วงเวลาประมาณ 08.00 น. ของวันที่ 9 ธันวาคม ตามเวลาประเทศไทย ดาวหางฮัลเลย์ได้เดินทางไปถึงจุดไกลสุดของวงโคจรรอบดวงอาทิตย์ ก่อนเริ่มต้นการเดินทางนานกว่า 37 ปี เพื่อมุ่งหน้ากลับเข้ามาสู่ระบบสุริยะชั้นในอีกครั้ง   ดาวหางฮัลเลย์เป็นดาวหางที่มีคาบการโคจร 1 รอบ ประมาณ 75 ปี และเป็นดาวหางคาบการโคจรสั้น หรือน้อยกว่า 200 ปีเพียงดวงเดียวในปัจจุบัน ...
Enceladus
16 มิถุนายน 2023

พบโมเลกุล​ ‘ฟอสเฟต’ กุญแจ​สำคัญ​สู่การก่อกำเนิด​ชีวิต ผสมอยู่​ในน้ำที่พ่นออกมาจากดวงจันทร์ของดาวเสาร์​

แฟรงก์ โพสต์เบิร์ก ศาสตราจารย์ด้านวิทยาศาสตร์ดาวเคราะห์ จาก Freie Universität แห่งเบอร์ลิน และทีมงาน พบหลักฐานแสดงถึงการมีอยู่จริงของ ‘ฟอสเฟต’ หนึ่งในสารประกอบสำคัญของสิ่งมีชีวิต จากน้ำที่พวยพุ่งออกมาทางขั้วใต้ของ ‘เอนเซลาดัส’ ดวงจันทร์น้ำแข็งที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับ 6 ของดาวเสาร์ การค้นพบนี้ถือเป็นครั้งแรกในวงการอวกาศที่ยืนยันว่า มีฟอสฟอรัสอยู่ในมห...
onthisday18021930
18 กุมภาพันธ์ 2023

18 กุมภาพันธ์ 1930 – ค้นพบดาวพลูโต อดีตดาวเคราะห์ดวงที่ 9 ในระบบสุริยจักรวาล

ไคลด์ ทอมบอกจ์ (Clyde W. Tombaugh) นักดาราศาสตร์แห่งหอดูดาวโลเวล รัฐแอริโซนา ค้นพบดาวพลูโต ซึ่งเป็นดาวเคราะห์ดวงที่ 9 ในระบบสุริยจักรวาล และประกาศใช้ชื่อดาวเคราะห์ดวงดังกล่าวว่า ‘พลูโต’ เมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม 1930 ซึ่งมาจากการเสนอของเด็กสาวชาวออกซ์ฟอร์ด ชื่อ เวเนเทีย เบอร์เนย์ พลูโตเป็นชื่อเทพแห่งใต้พิภพของโรมันผู้ล่องหนได้ โดยดาวพลูโตใช้เวลาโคจรหมุ...
3 กุมภาพันธ์ 2023

นักดาราศาสตร์พบดวงจันทร์บริวารของดาวพฤหัสบดีเพิ่มอีก 12 ดวง ขึ้นแท่นดาวเคราะห์ที่มีดวงจันทร์เยอะสุดในระบบสุริยะ

ศูนย์ดาวเคราะห์น้อย (Minor Planet Center หรือ MPC) เปิดเผยว่า นักดาราศาสตร์ได้ค้นพบดวงจันทร์บริวารของดาวพฤหัสบดี (Jupiter) เพิ่มขึ้นอีก 12 ดวง ทำให้ขณะนี้ดาวพฤหัสบดีมีดวงจันทร์บริวารทั้งสิ้น 92 ดวงแล้ว จากเดิมที่โลกเคยรู้ว่ามีแค่ 80 ดวงเท่านั้น ทำสถิติใหม่แซงหน้าแชมป์เก่าอย่างดาวเสาร์ที่มีดวงจันทร์บริวาร 83 ดวง    โดยดวงจันทร์บริวาร...
เจมส์ เว็บบ์
2 กันยายน 2022

เจมส์ เว็บบ์ เผยภาพถ่ายทางตรงของดาวเคราะห์นอกระบบสุริยะเป็นครั้งแรก

กล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์ เว็บบ์ ได้ถ่ายภาพดาวเคราะห์นอกระบบสุริยะ (Exoplanet) เป็นครั้งแรก โดยเป็นภาพดาวแก๊สขนาดยักษ์ HIP 65426 b ซึ่งมีมวลมากกว่าดาวพฤหัสบดี 6-12 เท่า และยังเป็นดาวที่มีอายุน้อยเพียง 15-20 ล้านปีเท่านั้น เทียบกับโลกของเราที่อยู่มากว่า 4.5 พันล้านปีแล้ว โดยดาวดวงนี้อยู่ห่างจากโลกออกไปถึง 385 ล้านปีแสงเลยทีเดียว   ดาวเคราะ...


Close Advertising
X