×

ประชากร

คนไทยไม่อยากมีลูก
3 พฤศจิกายน 2023

ปัญหาระดับชาติ ‘เมื่อคนไทยไม่อยากมีลูก’ รัฐจะตีโจทย์แก้ปัญหานี้อย่างไร

เมื่อพูดถึง ‘ประชากร’ ในประเทศไทย จะเห็นได้ว่ามีอัตราการเกิดลดลงอย่างชัดเจน โดยการลดลงของจำนวนประชากรนี้มาจากค่านิยมที่เปลี่ยนไปของผู้คนในยุคปัจจุบันหรือไม่ ซึ่งการลดลงของประชากรอาจนำมาสู่ปัญหาที่ตามมาอีกมากมาย ไม่ว่าจะเป็นปัญหาการจ้างงานและตลาดแรงงาน รวมไปถึงปัญหาทางเศรษฐกิจและสังคมอื่นๆ ซึ่งจำเป็นต้องให้ความสำคัญ หรือหากประชากรลดน้อยลงจะส่งผ...
Ratings Agencies
18 พฤษภาคม 2023

Ratings Agencies เตือน! รัฐบาลนานาประเทศอาจถูกลดอันดับเครดิต หากไม่สามารถจัดการต้นทุนการดูแลผู้สูงวัยที่เพิ่มขึ้นได้

บริษัทจัดอันดับเครดิตต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น Moody’s, S&P และ Fitch ต่างก็เตือนว่า ลักษณะประชากรที่เปลี่ยนแปลงไปในหลายประเทศ เช่น การมีอัตราการเกิดต่ำ และมีอัตราการตายที่ชะลอตัวลง กำลังกระทบอันดับเครดิตของรัฐบาลแล้ว   พร้อมทั้งเตือนว่า หากไม่มีการปฏิรูปในวงกว้าง การปรับลดอันดับเครดิตอาจทำให้ภาระทางการคลังของแต่ละประเทศสูงขึ้น และทำให้ต้นท...
ประชากร อินเดีย
20 เมษายน 2023

กลางปี 2023 ‘อินเดีย’ จะเป็นประเทศที่มีประชากรมากสุดในโลก ด้วยจำนวน 1.4 พันล้านคน เบียดแชมป์เก่าอย่างจีน

กองทุนประชากรแห่งสหประชาชาติ (UNFPA) เปิดเผยผลข้อมูลอัปเดตล่าสุดเมื่อวันพุธที่ผ่านมา (19 เมษายน) โดยพบว่าอินเดียกำลังจะแซงหน้าจีนขึ้นแท่นเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดในโลกภายในช่วงกลางปีนี้    โดยรายงานสถานการณ์ประชากรโลกปี 2023 (State of World Population Report, 2023) ของ UNFPA คาดการณ์ว่า อินเดียจะมีจำนวนประชากรอยู่ที่ 1,428,600...
ฮิกิโกโมริ
5 เมษายน 2023

ผลสำรวจรัฐบาลญี่ปุ่นชี้ ประชากรวัยทำงานเกือบ 1.5 ล้านคนเป็นกลุ่ม ‘ฮิกิโกโมริ’ แยกตัวจากสังคม

สำนักงานคณะรัฐมนตรีญี่ปุ่นรายงานผลสำรวจล่าสุด พบว่ามีประชากรวัยทำงานเกือบ 1.5 ล้านคนที่ถูกจัดอยู่ในกลุ่ม ‘ฮิกิโกโมริ’ (Hikikomori) หรือกลุ่ม ‘ผู้แยกตัวจากสังคม’ ที่ใช้ชีวิตส่วนใหญ่แบบเก็บตัวอยู่ในบ้านหรือในห้องพักเพียงลำพังโดยแทบไม่ออกไปไหน ยกเว้นซื้ออาหารหรือสิ่งของจำเป็น    การสำรวจดังกล่าวถือเป็นการสำรวจอย่างเป็นทางการครั้งแรกเกี...
17 มีนาคม 2023

ส่องโครงสร้างประชากรโลกในอีก 3 ทศวรรษข้างหน้า เอเชียใต้จ่อโค่นบังลังก์ เอเชียตะวันออก-อาเซียนมีนัยต่อเศรษฐกิจโลกอย่างไร?

องค์การสหประชาชาติ (UN) คาดการณ์ว่าใน 3 ทศวรรษข้างหน้า โครงสร้างประชากรโลกและแต่ละภูมิภาคจะ ‘แตกต่าง’ จากปัจจุบันอย่างมาก โดยภูมิภาคเอเชียกลางและเอเชียใต้จะกลายเป็นภูมิภาคที่มีประชากรมากที่สุดในโลกภายในปี 2037 แซงหน้าแชมป์ปัจจุบันอย่างเอเชียตะวันออกและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ไปได้   ขณะที่อินเดียก็คาดว่าจะแซงหน้าจีนขึ้นประเทศที่มีประชากรมา...
เส้นความยากจน
16 สิงหาคม 2022

ชาวฟิลิปปินส์เกือบ 20 ล้านคน อาศัยอยู่ใต้ ‘เส้นความยากจน’ ในปี 2021

ผลสำรวจจากรัฐบาลฟิลิปปินส์ที่เผยแพร่เมื่อวานนี้ (15 สิงหาคม) เปิดเผยว่า ประชากรฟิลิปปินส์เกือบ 20 ล้านคน อาศัยอยู่ใต้เส้นแบ่งความยากจน (Poverty Line) ระดับชาติ ในปี 2021    สำนักงานสถิติแห่งชาติฟิลิปปินส์ (PSA) อ้างอิงผลสำรวจรายรับและรายจ่ายครัวเรือนในปี 2021 ระบุว่า อุบัติการณ์ความยากจนในหมู่ประชากร หรือสัดส่วนของชาวฟิลิปปินส์ที่มี...
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
8 เมษายน 2022

เปิดตัวเลขประชากร ผู้มีสิทธิเลือกตั้งผู้ว่าฯ กทม.-ส.ก. ในรอบ 9 ปี

การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (ผู้ว่าฯ กทม.) และสมาชิกสภากรุงเทพมหานคร (ส.ก.) จะเกิดขึ้นในวันที่ 22 พฤษภาคมนี้ คน กทม. กำลังจะได้ตัดสินใจเลือกผู้บริหารเพื่อมาพัฒนาเมืองหลวงแห่งนี้ในรอบ 9 ปี    THE STANDARD ชวนสำรวจข้อมูลที่น่าสนใจก่อนหย่อนบัตร ว่าผ่านมา 9 ปี กทม. เปลี่ยนไปแค่ไหน สัดส่วนประชากรเป็นอย่างไร   &nb...
low birth rates
15 มีนาคม 2022

ประเทศไทยจะรับมืออย่างไร เมื่อ ‘อัตราการเกิดต่ำ’ กลายเป็นจุดเริ่มต้นของหายนะครั้งใหญ่ของเศรษฐกิจและสังคม

ปัญหาประชากรศาสตร์จ่อคิวเป็นปัญหาระดับโลก เมื่อ ‘อัตราการเกิดต่ำ’ กลายความเสี่ยงครั้งยิ่งใหญ่ที่จะเกิดขึ้นกับเศรษฐกิจและปัญหาสังคม    ปี 2543-2563 อัตราการเกิดทั่วโลกลดลงถึง 21% หากเป็นเช่นนี้ต่อไปคาดการณ์ว่าภายในสิ้นศตวรรษ มีอย่างน้อย 23 ประเทศที่ประชากรจะลดลงกว่าครึ่ง รวมถึงประเทศไทย เพราะหากเทียบข้อมูลจากสำนักงานสถิติในประเทศต่าง...
สฤณี อาชวานันทกุล
27 มกราคม 2022

ชมคลิป: สฤณี วิเคราะห์วิกฤต ‘เกิดต่ำ’ ในยุคข้าวยากหมากแพง เศรษฐกิจจะฟื้นเมื่อไหร่?

“ถ้าอัตราการเกิดมันเริ่มต่ำ มันก็สุ่มเสี่ยงว่าเศรษฐกิจเราอาจจะหดตัวในอนาคต เพราะมีคนทำงานน้อยลง การจับจ่ายใช้สอยก็ตามมา”   “อาจจะฟังดูแย่นะ แต่ส่วนหนึ่งคือเราก็จะค่อยๆ ชิน เพราะว่าราคาขึ้นแล้วมันคงไม่ลง”   ‘สฤณี อาชวานันทกุล’ นักเขียนและนักวิชาการอิสระ ด้านเศรษฐศาสตร์ วิเคราะห์วิกฤตอัตรา ‘เกิดต่ำ’ กว่าอัตราเสียชีวิต เศรษฐกิจ สภาพแวดล้...
aging society
13 พฤศจิกายน 2021

ม.มหิดล ชวนจับตา ‘สึนามิผู้สูงวัย’ จากประชากรรุ่นเกิดล้าน พ.ศ. 2506-2526 แนะระวังเรื่องสุขภาพ-การใช้จ่าย และให้ออมเงิน

วันนี้ (13 พฤศจิกายน) ศ.เกียรติคุณ ดร.ปราโมทย์ ประสาทกุล อดีตผู้อำนวยการสถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล กล่าวว่า นับเป็นเวลาครึ่งศตวรรษแล้วที่สถาบันฯ ได้รับใช้ประเทศชาติด้วยการเป็นปัญญาของแผ่นดิน ตามปณิธานของมหาวิทยาลัยมหิดล สร้างองค์ความรู้จากงานวิจัยที่เกิดขึ้นจากการสำรวจติดตามการเปลี่ยนแปลงของโครงสร้างประชากรไทย ไม่ว่าจะเป็นการเกิด ก...

Close Advertising