×

ดวงจันทร์

ดาวเคียงเดือน
4 มกราคม 2025

ชวนสำรวจท้องฟ้ายามค่ำคืน กับปรากฏการณ์ดาวเคียงเดือน

วันนี้ (4 มกราคม) ช่างภาพ THE STANDARD ชวนแหงนหน้าขึ้นมองฟ้า สำรวจท้องฟ้ายามค่ำคืน จะพบ ‘ปรากฏการณ์ดาวเคียงเดือน’ ดวงจันทร์ข้างขึ้น 3 ค่ำ เคียงดาวเสาร์ เกิดจากแสงอาทิตย์สะท้อนผิวโลกไปยังดวงจันทร์ และสะท้อนกลับมายังผู้สังเกตบนโลกอีกต่อหนึ่ง ทำให้เห็นแสงจางๆ จากด้านมืดของดวงจันทร์   ถือเป็นปรากฏการณ์ทางดาราศาสตร์อย่างหนึ่งที่เกิดขึ้นเป็นปร...
26 ธันวาคม 2024

ก้าวกระโดดสู่ดวงดาวและยุคใหม่ของการสำรวจอวกาศ สรุปเหตุการณ์สำคัญอวกาศปี 2024

ปี 2024 เป็นอีกหนึ่งศักราชแห่งภารกิจการออกสำรวจอวกาศ ทั้งการนำส่งยานอวกาศลำใหม่ นานาภารกิจออกเดินทางไปลงดวงจันทร์ รวมถึงการพาจรวดยักษ์กลับมาสู่ฐานปล่อยได้อีกครั้ง ซึ่งแสดงให้เห็นการพัฒนาอีกขั้นในด้านเทคโนโลยีอวกาศของมนุษยชาติ   พาย้อนดูเหตุการณ์สำคัญของวงการอวกาศตลอดหนึ่งรอบการโคจรรอบดวงอาทิตย์ ในปีที่มีการนำส่งจรวดขึ้นสู่วงโคจรรอบโลกมาก...
ทำไม NASA เลื่อนส่งนักบินอวกาศกลับไปดวงจันทร์
9 ธันวาคม 2024

อวกาศและการเมือง: ทำไม NASA เลื่อนส่งนักบินอวกาศกลับไปดวงจันทร์ ทั้งที่เคยไปมาแล้ว

เป็นเวลานานกว่า 50 ปีที่ไม่มีมนุษย์คนไหนเดินทางไปถึงดวงจันทร์ และดูเหมือนเราต้องอดใจรอนานกว่าเดิมครึ่งปี หลังจาก NASA ประกาศเลื่อนส่งอาร์ทีมิส 2 ไปเป็นเดือนเมษายน 2026   อาร์ทีมิส 2 ถูกวางไว้เป็นภารกิจแรกที่พานักบินอวกาศเดินทางกลับไปดวงจันทร์ นับตั้งแต่อพอลโล 17 ภารกิจสุดท้ายของโครงการอพอลโลเมื่อเดือนธันวาคม 1972 แต่ปัญหาที่เกิดขึ้นกับแผ...
7 ธันวาคม 2024

NASA ประกาศเลื่อนอาร์ทีมิส 2 ภารกิจส่งมนุษย์กลับไปดวงจันทร์เป็นเดือนเมษายน 2026

NASA ตัดสินใจเลื่อนวันส่งภารกิจอาร์ทีมิส 2 พานักบินอวกาศเดินทางกลับไปสำรวจดวงจันทร์ออกไปเป็นเดือนเมษายน 2026   เช้ามืดวันที่ 6 ธันวาคมตามเวลาประเทศไทย คณะผู้บริหาร NASA รวมถึงผู้บัญชาการภารกิจอาร์ทีมิส 2 ร่วมแถลงข่าวเพื่อชี้แจงความคืบหน้าของโครงการอาร์ทีมิส โดยเฉพาะผลกระทบที่เกิดขึ้นจากปัญหาแผ่นกันความร้อนบนยานโอไรออน ยานบังคับการของภารก...
NASA
5 ธันวาคม 2024

ผู้บริหาร NASA เตรียมแถลงความคืบหน้าแผนพามนุษย์กลับไปดวงจันทร์ในโครงการอาร์ทีมิส

คืนนี้คณะผู้บริหาร NASA เตรียมแถลงข่าวอัปเดตความคืบหน้าโครงการอาร์ทีมิส ภารกิจพามนุษย์เดินทางกลับไปสำรวจดวงจันทร์อีกครั้งภายใต้การนำของสหรัฐอเมริกา   เช้ามืดวันที่ 5 ธันวาคม ตามเวลาประเทศไทย องค์การบริหารการบินและอวกาศแห่งชาติสหรัฐฯ หรือ NASA ประกาศจัดแถลงข่าวรายงานความคืบหน้าโครงการอาร์ทีมิส เวลา 01.00 น. วันที่ 6 ธันวาคม (คืนวันที่ 5) ...
1 พฤศจิกายน 2024

ชมคลิป: ไทยเตรียมเข้าร่วมข้อตกลงอวกาศ Artemis Accords โอกาสหรือความท้าทาย? | News Digest

ไทยกำลังจะก้าวสู่ยุคใหม่ในเวทีอวกาศ จากการที่คณะรัฐมนตรีอนุมัติลงนามเข้าร่วมในข้อตกลง Artemis Accords เปิดทางให้ไทยมีส่วนร่วมกับโครงการที่กำลังจะพามนุษย์กลับสู่ดวงจันทร์และเตรียมบุกเบิกดาวอังคาร แล้วการเข้าร่วมครั้งนี้จะเปลี่ยนโฉมเศรษฐกิจอวกาศและวงการวิทยาศาสตร์ของไทยอย่างไรบ้าง?...
NASA
30 ตุลาคม 2024

NASA เลือก 9 พื้นที่ขั้วใต้ดวงจันทร์เพื่อพานักบินอวกาศกลับไปลงจอด

NASA ประกาศ 9 พื้นที่บริเวณใกล้เคียงขั้วใต้ดวงจันทร์สำหรับการศึกษาข้อมูลเพิ่มเติม และเตรียมความพร้อมในการนำนักบินอวกาศไปลงจอดบนพื้นผิวเป็นครั้งแรกนับตั้งแต่ภารกิจอพอลโล 17   วันที่ 28 ตุลาคม องค์การบริหารการบินและอวกาศแห่งชาติสหรัฐอเมริกา หรือ NASA ประกาศเลือก 9 พื้นที่บริเวณใกล้ขั้วใต้ดวงจันทร์เพื่อเป็นจุดลงจอดของยาน Starship HLS พาสองน...
นักดาราศาสตร์ ดวงจันทร์
13 ตุลาคม 2024

นักดาราศาสตร์อาจพบหลักฐานดวงจันทร์ดวงแรก ที่โคจรรอบดาวเคราะห์ในระบบดาวอื่น

นักดาราศาสตร์อาจพบหลักฐานของดวงจันทร์บริวาร ที่โคจรรอบดาวเคราะห์นอกระบบสุริยะดวงแรก ในระบบดาวที่อยู่ห่างโลกไป 635 ปีแสง จากการศึกษาพฤติกรรมของดวงจันทร์ไอโอที่โคจรรอบดาวพฤหัสบดี   ในปัจจุบันนักดาราศาสตร์ยังไม่พบหลักฐานที่ชัดเจนว่ามีดวงจันทร์โคจรรอบดาวเคราะห์นอกระบบสุริยะ เนื่องจากดวงจันทร์เหล่านี้อาจมีขนาดเล็กเกินกว่าที่เทคโนโลยีบนโลกในปั...
29 กันยายน 2024

มีอะไรอยู่บน ดวงจันทร์ยูโรปา? ทำไม NASA ถึงส่งภารกิจ Europa Clipper ไปสำรวจ

ในวันที่ 10 ตุลาคมนี้ NASA เตรียมส่งยาน Europa Clipper ออกเดินทางไกลกว่า 2,900 ล้านกิโลเมตร และใช้ระยะเวลาในอวกาศลึกนานกว่า 5 ปีครึ่ง เพื่อออกสำรวจดวงจันทร์ยูโรปาของดาวพฤหัสบดีอย่างใกล้ชิด   Europa Clipper เป็นยานอวกาศลำใหญ่ที่สุดของ NASA ที่มีภารกิจมุ่งหน้าไปสำรวจวัตถุในระบบสุริยะ โดยมีความยาวถึง 30 เมตร เมื่อกางแผงโซลาร์เซลล์ออกระหว่าง...
22 กันยายน 2024

สรุปข้อมูล 2024 PT5 ดวงจันทร์ดวงที่ 2 ของโลก ที่แวะมาโคจรเพียงชั่วคราว

วันที่ 29 กันยายน อิทธิพลจากแรงโน้มถ่วงโลก ทำให้ดาวเคราะห์น้อย 2024 PT5 กลายเป็นดวงจันทร์บริวารของโลกอีกดวงเป็นการชั่วคราว   อย่างไรก็ตาม 2024 PT5 มีขนาดเพียง 10 เมตร ซึ่งเล็กกว่าดวงจันทร์ (3,475 กิโลเมตร) และมีอันดับความสว่าง หรือ Magnitude เพียง 22 โดยหากมีค่าความสว่างที่สูง แปลว่าวัตถุนั้นมีความสว่างน้อย ยกตัวอย่างเช่น ดวงอาทิตย์มีค่า...


Close Advertising