×

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

จุฬา Google Cloud
2 ธันวาคม 2024

‘ปัญญาที่ไม่ต้องประดิษฐ์’ จุฬาฯ จับมือ Google Cloud เตรียมเปิดใช้งาน ‘ChulaGENIE’ ให้ชาวจุฬาฯ 5 หมื่นคน

“สิ่งที่จะชนะปัญญาประดิษฐ์คือปัญญาที่ไม่ต้องประดิษฐ์ จุฬาฯ มองว่า AI จะถูกใช้เพื่อเสริมทักษะและปัญญาของผู้เรียนให้ดีขึ้น” ศ. ดร.วิเลิศ ภูริวัชร อธิการบดีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กล่าวถึงวิสัยทัศน์ด้าน AI ของมหาวิทยาลัย   ตลอด 2 ปีที่ผ่านมา นับตั้งแต่ OpenAI เปิดให้โลกรู้จักและทดลองสัมผัสศักยภาพของ ChatGPT การใช้เทคโนโลยี AI ก็แพร่กระจายอย่า...
21 ตุลาคม 2024

‘วิศวกรรมเซมิคอนดักเตอร์’ หลักสูตรนานาชาติใหม่ วิศวกรรมศาสตร์ จุฬาฯ

‘เซมิคอนดักเตอร์: กุญแจสำคัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจดิจิทัลของไทย’   ในโลกปัจจุบันที่มีความเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว รวมถึงการแข่งขันสูงและท้าทาย ภาคส่วนต่างๆ ล้วนต้องปรับตัวให้ทันต่อโอกาสที่กำลังเข้ามา เพราะหากไม่เตรียมพร้อมอาจทำให้ตกขบวนได้    หนึ่งในอุตสาหกรรมสำคัญที่ทั่วโลกต่างมีความต้องการสูงคือ ‘อุตสาหกรรมเซมิคอนดักเตอร์...
พวงทอง
26 กันยายน 2024

โฆษก กอ.รมน. ยืนยันไม่ได้มองหนังสือของ ‘พวงทอง’ เป็นภัยคุกคาม แต่ไม่รับปากว่าจะดำเนินคดีหรือไม่

วันนี้ (26 กันยายน) พล.ต. วินธัย สุวารี โฆษกกองอำนวยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร (กอ.รมน.) เข้าชี้แจงกรณีแถลงข่าวขอความร่วมมือให้ระงับการขายหนังสือ ในนามของความมั่นคงภายใน : การแทรกซึมสังคมของกองทัพไทย ต่อคณะกรรมาธิการการพัฒนาการเมือง การสื่อสารมวลชน และการมีส่วนร่วมของประชาชน สภาผู้แทนราษฎร   ในช่วงหนึ่งโฆษก กอ.รมน. ยอมรับว่า ในกา...
พวงทอง ภวัครพันธุ์
26 กันยายน 2024

พวงทองชี้ กอ.รมน. ไม่เข้าใจวิชาการ ปมระงับการขายหนังสือ ‘ในนามของความมั่นคงภายในฯ’

วันนี้ (26 กันยายน) ที่อาคารรัฐสภา พวงทอง ภวัครพันธุ์ อาจารย์ภาควิชาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ให้สัมภาษณ์ก่อนเข้าชี้แจงต่อคณะกรรมาธิการการพัฒนาการเมือง การสื่อสารมวลชน และการมีส่วนร่วมของประชาชน สภาผู้แทนราษฎร กรณีการแถลงข่าวของกองอำนวยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร (กอ.รมน.) ต่อหนังสือ ในนามของความมั่นคงภายใน...
นิสิตคณะรัฐศาสตร์
24 กันยายน 2024

นิสิตรัฐศาสตร์ จุฬาฯ ติดป้ายเรียกร้องเสรีภาพวิชาการ หลังคณะไม่ให้ใช้สถานที่จัดเสวนาหนังสือ ‘ในนามของความมั่นคงภายใน’

วันนี้ (24 กันยายน) กลุ่มนิสิตคณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ทำกิจกรรมเชิงสัญลักษณ์ด้วยการติดป้ายกระดาษที่ระบุข้อความว่า ‘เสรีภาพทางวิชาการ = Fake News ผลิตโดยจุฬาฯ’ ที่ป้ายคณะรัฐศาสตร์ ตามด้วยอาคารคณะนิเทศศาสตร์ จุฬาฯ    หลังจากนั้นเจ้าหน้าที่ประจำคณะได้มาดำเนินการนำป้ายกระดาษที่ถูกติดไว้ออกไป   ตัวแทนนิสิตที่ทำกิจกร...
ประภาส ปิ่นตบแต่ง
2 กันยายน 2024

ประภาส ปิ่นตบแต่ง นักวิชาการในบทบาท ‘สว. NGO’ กับภารกิจเชื่อมรัฐสภาออกไปหาประชาชน

THE STANDARD สัมภาษณ์ ประภาส ปิ่นตบแต่ง สมาชิกวุฒิสภา (สว.) จากการสมัครรับเลือกปี 2567 อดีตอาจารย์ประจำคณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยสมัคร สว. ‘กลุ่ม 17 ประชาสังคม กลุ่มองค์กรสาธารณประโยชน์ หรืออื่นๆ ในทำนองเดียวกัน’ จากอำเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม   เขาเป็นผู้ที่สามารถสมัครได้หลายกลุ่ม ทั้ง ‘กลุ่ม 3 การศึกษา’ หรือ ‘กลุ่ม 5 อาชีพ...
10 สิงหาคม 2024

สภานิสิตจุฬาฯ เชิญ ‘จิรนิติ’ ตุลาการศาล รธน. ซักถามยุบก้าวไกล เป็นไปตามหลักวิชาหรือไม่

วันนี้ (10 สิงหาคม) มีการเผยแพร่หนังสือซึ่งลงนามโดย สถาปัตย์ เพชรศิราสัณห์ ประธานสภานิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ซึ่งมีเนื้อหาเป็นการเชิญ ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.จิรนิติ หะวานนท์ ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ และอาจารย์พิเศษคณะนิติศาสตร์ เข้าอธิบายแนวทางการจัดการเรียนการสอน   เพื่อรักษามาตรฐานการศึกษาของนิสิตจุฬาฯ หลังคำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญน่าสงสัยว่า...
ฮ่องกง
3 กรกฎาคม 2024

27 ปี ฮ่องกงกลับสู่จีน เปลี่ยนไปมากแค่ไหน สิ้นสุด 1 ประเทศ 2 ระบบแล้วหรือยัง?

เป็นเวลา 27 ปีแล้ว ที่อังกฤษส่งมอบ ฮ่องกง กลับคืนสู่จีน ภายใต้หลักการปกครองแบบ ‘1 ประเทศ 2 ระบบ’ เมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม 1997 ซึ่งแนวคิดการปกครองนี้คือการยึดถือนโยบาย ‘จีนเดียว’ (One China) แต่ยังสามารถมีระบบเศรษฐกิจและการเมืองแบบทุนนิยมที่แตกต่างจากระบบสังคมนิยมของจีนแผ่นดินใหญ่ได้   ช่วงไม่กี่ปีหลังกลับสู่อ้อมอกจีน เขตบริหารพิเศษฮ่องกงเป...
1 กรกฎาคม 2024

นายกฯ ภูฏาน ปาฐกถาพิเศษ ‘Enlightened Leadership’ ที่จุฬาฯ ส่งเสริมภาวะผู้นำรับมือโลกที่ผันผวน

ดาโช เชริง โตบเกย์ (Dasho Tshering Tobgay) นายกรัฐมนตรีแห่งราชอาณาจักรภูฏาน และนักเคลื่อนไหวด้านสิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรม ปาฐกถาพิเศษในหัวข้อ ‘ Enlightened Leadership ’ ที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เมื่อวันที่ 27 มิถุนายนที่ผ่านมา    โดยเนื้อหาการปาฐกถาครั้งนี้ มุ่งเสริมสร้างความเข้าใจว่าด้วยภาวะผู้นำในการรับมือกับความผันผวนในภูมิภาคเอเชีย...
24 มิถุนายน 2024

กทม. ร่วมกับ AFD และ UDDC-CEUS หารือเชิงนโยบาย Toward 2050 กำหนดทิศทางระยะยาว สร้างกรุงเทพฯ ให้เป็นเมืองน่าอยู่อย่างยั่งยืน

มื่อวันที่ 18 มิถุนายนที่ผ่านมา กรุงเทพมหานคร ร่วมกับสำนักงานเพื่อการพัฒนาแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศส (AFD), ศูนย์ออกแบบและพัฒนาเมือง ศูนย์เชี่ยวชาญเฉพาะทางด้านยุทธศาสตร์เมือง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (UDDC-CEUS) และภาควิชาการวางแผนภาคและเมือง คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาฯ (CUURP) หารือเชิงนโยบาย Toward 2050 ร่วมกำหนดทิศทางระยะยาว สร้างกรุงเทพฯ ให้เป็นเมืองน่า...


Close Advertising
X