×

ค่าครองชีพ

ค่าครองชีพ
12 ธันวาคม 2019

อันดับเมืองที่มีค่าครองชีพสูงที่สุดในโลก ปี 2019

จากรายงานการจัดอันดับเมืองที่มีค่าครองชีพสูงที่สุดในโลก ปี 2019 โดย ECA International ที่สำเร็จและเก็บข้อมูลด้านการท่องเที่ยวในกว่า 480 เมืองทั่วโลก ในปีนี้ กรุงอาชกาบัต เมืองหลวงของเติร์กเมนิสถาน ยังคงครองตำแหน่งเมืองที่มีค่าครองชีพสูงที่สุดในโลกสำหรับนักท่องเที่ยวต่างชาติเป็นปีที่ 2 ติดต่อกัน หลังจากที่ก้าวกระโดดขึ้นมาจากอันดับที่ 146 เมื่อปี 201...
กระทรวงแรงงาน
6 ธันวาคม 2019

กระทรวงแรงงานให้ของขวัญปีใหม่ เคาะขึ้นค่าจ้างทั่วประเทศ

กระทรวงแรงงาน โดยมติคณะกรรมการค่าจ้าง สรุปผลปรับค่าจ้างปี 2563 แบ่งเป็น 10 ระดับ ต่ำสุด 3 จังหวัดชายแดนใต้ ปัตตานี ยะลา นราธิวาส 313 บาท สูงสุด ภูเก็ต ชลบุรี 336 บาท รองลงมาเป็นระยอง 335 บาท ส่วนกรุงเทพฯ และปริมณฑลอยู่ที่ 331 บาท กระทรวงแรงงานจะสรุปผลเสนอคณะรัฐมนตรี (ครม.) พิจารณาโดยเร็วที่สุด เพื่อให้ทันประกาศมีผลบังคับใช้ในวันที่ 1 มกราคม 2563 ต่...
เงินเดือน
13 พฤศจิกายน 2019

รายงานคาด ไทยติดอันดับ 5 เงินเดือนแท้จริงเพิ่มสูงสุดในโลกในปี 2020

ไทยติดท็อป 5 ประเทศที่คาดว่าประชากรจะได้รับเงินเดือนแท้จริงเพิ่มขึ้นในอัตราสูงสุดของโลกในปี 2020 จากรายงานคาดการณ์แนวโน้มค่าแรงในตลาดแรงงานทั่วโลกของ ECA International โดย 10 อันดับแรก เป็นประเทศในเอเชียถึง 9 ประเทศ และเป็นชาติในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ หรืออาเซียน 5 ประเทศ   ในรายงาน Salary Trends Report ฉบับล่าสุดของ ECA คาดว่า อินเดียจะ...
อสังหาริมทรัพย์
21 ตุลาคม 2019

10 อันดับเมืองบ้านแพงที่สุดในโลก ปี 2019

รายงาน Global Living ประจำปี ฉบับที่ 5 ของ CBRE พบว่า ฮ่องกงเป็นเมืองที่แพงที่สุดในโลกสำหรับใครที่กำลังมองหาบ้าน ด้วยราคาเฉลี่ย 1,235,220 ล้านดอลลาร์สหรัฐ หรือประมาณ 37,441,000 บาท ตามมาด้วยสิงคโปร์และเซี่ยงไฮ้ในอันดับ 2 และ 3 ตามลำดับ   โดย 10 อันดับแรกเป็นมหานครหรือเขตปกครองพิเศษของจีนรวม 4 แห่ง อเมริกาเหนือ 3 แห่ง และยุโรป 2 แห่ง ซึ่ง...
อุตตม สาวนายน
27 กันยายน 2019

อุตตมเผย รัฐบาลต่ออายุช่วยค่าน้ำ-ค่าไฟ 11 เดือน พร้อมคืน VAT ให้ผู้ใช้จ่ายผ่านบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ 5%

เมื่อวานนี้ (26 กันยายน) อุตตม สาวนายน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง ได้โพสต์ข้อความถึงมาตรการเพิ่มเติมความช่วยเหลือและพัฒนาศักยภาพผู้มีรายได้น้อย ผ่านเฟซบุ๊กแฟนเพจ ‘ดร.อุตตม สาวนายน’ โดยระบุว่า    ผมได้ร่วมประชุมคณะกรรมการประชารัฐสวัสดิการเพื่อเศรษฐกิจฐานรากและสังคม โดยที่ประชุมได้พิจารณาอนุมัติการให้ความช่วยเหลือประชาชนผู้มีรายได้น...
Pain of paying
13 กันยายน 2019

ควักเงินสดมันเจ็บปวด รูดก่อนจ่ายทีหลังสบายใจกว่า รู้จักอาการ ‘เจ็บปวดจากการจ่าย’ พร้อมวิธีง่ายๆ ในการเซฟเงิน

เวลาไปซื้อของแล้วจ่ายด้วยบัตรเครดิต ความรู้สึกแตกต่างจากการจ่ายด้วยเงินสดกันไหมคะ    หลายคนอาจรู้สึกว่าเวลาใช้บัตรเครดิตจ่ายเงินแล้วทำให้ใช้เงินง่าย ไม่ค่อยเจ็บปวดเท่าไร แต่พอต้องควักเงินสดออกจากกระเป๋าสตางค์จะแอบมีความรู้สึกเจ็บปวดบางอย่าง มันไม่ใช่ความเจ็บปวดทางกายแบบเดินสะดุดหกล้ม แต่เป็นความรู้สึกปวดใจ ทั้งๆ ที่เป็นเงินมูลค่าเท่...
ค่าน้ำสาธารณะ
1 กันยายน 2019

เตรียมเก็บค่าน้ำสาธารณะ สทนช. เร่งระดมความคิดเห็นทุกภาคส่วน หาทางออก

(1 กันยายน) สำเริง แสงภู่วงค์ รองเลขาธิการสำนักงานทรัพยากรน้ำแห่งชาติ (สทนช.) กล่าวถึงแนวทางการเปิดรับฟังความคิดเห็นของประชาชน โครงการจัดทำหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการคิดค่าน้ำ และจัดทำกฎหมายลำดับรอง ตามกฎหมายว่าด้วยทรัพยากรน้ำ (หมวดที่ 4 การจัดสรรน้ำและการใช้น้ำ) ว่า    จากสภาพปัญหาเกี่ยวกับการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำในหลายด้าน ...
กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา กยศ
29 สิงหาคม 2019

ผ่ามาตรการล่าสุด ‘กยศ.’ ลดดอกเบี้ย พักชำระ เพิ่มค่าครองชีพ

กำลังเป็นกระแสให้พูดถึงบนสังคมออนไลน์อย่างมาก ภายหลังจาก กยศ. ประกาศมาตรการแก้ไขปัญหาของลูกหนี้ กยศ. และช่วยเหลือผู้กู้ยืมที่ค้างชำระหนี้ โดยคาดว่าจะช่วยบรรเทาภาระให้กับลูกหนี้ โดยไฮไลต์สำคัญอยู่ที่การพักชำระหนี้ 1 ปีให้กับผู้ถือบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ ซึ่งกลายเป็นที่มาของเสียงวิพากษ์วิจารณ์ในขณะนี้      ภาพประกอบ: เที...
บัตรสวัสดิการแห่งรัฐ
26 สิงหาคม 2019

กระทรวงการคลัง ย้ำบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ มีเพื่อบรรเทาค่าครองชีพประชาชน หลังพบมีผู้นำไปใช้ในทางไม่จำเป็น

วันนี้ (26 ส.ค. 2562) ลวรณ แสงสนิท ผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจการคลัง ในฐานะโฆษกกระทรวงการคลังเปิดเผยว่า ขณะนี้มีประเด็นข่าวว่า มาตรการช่วยเหลือผ่านบัตรสวัสดิการแห่งรัฐเพิ่มเติมที่คณะรัฐมนตรีเห็นชอบเมื่อสัปดาห์ที่แล้ว (20 สิงหาคม 2562) ส่งผลให้ผู้มีบัตรสวัสดิการแห่งรัฐถอนเงินสดจากเครื่องถอนเงินอัตโนมัติ (ATM) นำไปซื้อสินค้าที่ไม่จำเป็นต่อการดำรงชีว...
Mental Accounting
23 สิงหาคม 2019

ทำไมข้าวไข่เจียวถึงดูแพงกว่าชาไข่มุกทั้งที่ราคาเท่ากัน? รู้จัก Mental Accounting บัญชีในใจที่ทำให้มูลค่าของแต่ละสิ่งไม่เท่ากัน

ระหว่างเดินเล่นอยู่ในห้างฯ เราบ่นกับตัวเองว่า    “ข้าวไข่เจียวราคา 80 บาท แพงจัง”   แล้วก็ก้มมองในมือตัวเองที่ถือชานมไข่มุกแก้วละ 80 บาทอยู่    เอ๊ะ! ทำไมเราไม่รู้สึกเลยว่าชาแพง แต่ทำไมเราถึงรู้สึกว่าข้าวไข่เจียวแพงล่ะ?    คิดๆ ไปก็คิดว่า Mental Accounting หรือบัญชีในใจ น่าจะตอบคำถามนี้ได้&...


Close Advertising
X