×

กุลลดา เกษบุญชู-มี้ด

ม.ร.ว.ปรียนันทนา
22 มิถุนายน 2023

ถอนฟ้องซึ่งกันและกัน ม.ร.ว.ปรียนันทนา ถอนฟ้องกุลลดา คดีวิทยานิพนธ์ณัฐพล ส่วนอีก 5 จำเลยคดีดำเนินต่อไป

วันนี้ (22 มิถุนายน) วิญญัติ ชาติมนตรี ให้สัมภาษณ์กับ THE STANDARD ในฐานะทนายความของ กุลลดา เกษบุญชู มี้ด จำเลยที่ 2 ในคดีที่ ม.ร.ว.ปรียนันทนา รังสิต หลานของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาชัยนาทนเรนทร ฟ้องศาลแพ่ง เรียกค่าเสียหาย 50 ล้านบาท ฐานความผิดละเมิดไขข่าวด้วยข้อความฝ่าฝืนความจริง ต่อ 6 จำเลย ประกอบด้วย   จำเลยที่ 1 ณัฐพล ใจจริง...
8 กันยายน 2022

ไขปมจุฬาฯ ตั้ง ‘บวรศักดิ์’ นั่งประธานสอบ ‘ณัฐพล-กุลลดา’ ปมปัญหาวิทยานิพนธ์

ปัจจุบันสถานะของวิทยานิพนธ์ปริญญาเอกของ ณัฐพล ใจจริง ถูกจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยระงับการเผยแพร่นับแต่วันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2562 หลังมีการร้องเรียนจาก ไชยันต์ ไชยพร ในปี 2561 แต่กระบวนการดำเนินการของมหาวิทยาลัยยังไม่สิ้นสุดลงที่การระงับเผยแพร่นับแต่วันนั้น     ไชยันต์ ไชยพร ทำหนังสือถึงจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยอีกครั้งเมื่อวันที่ 1 มิถุ...
กุลลดา เกษบุญชู
29 สิงหาคม 2022

ศิษย์เก่า-ศิษย์ปัจจุบันจุฬาฯ มองกรณี ‘กุลลดา’ กับอนาคตเสรีภาพวิชาการ และการกลั่นแกล้งทางการเมือง

ย้อนกลับไปเมื่อปีการศึกษา 2552 ณัฐพล ใจจริง เขียนวิทยานิพนธ์ปริญญาเอกเรื่อง ‘การเมืองไทยสมัยรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม ภายใต้ระเบียบโลกของสหรัฐอเมริกา (พ.ศ. 2491-2500)’ โดย กุลลดา เกษบุญชู มี้ด อาจารย์คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในขณะนั้น เป็นอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์    วิทยานิพนธ์ได้รับการประเมินโดยกรรมการสอบวิทยานิพนธ์ 5...
25 สิงหาคม 2022

‘กุลลดา’ ร้องสภาจุฬาฯ ไม่ยอมรับการรายงานผลของกรรมการชุด ‘บวรศักดิ์’ ปมวิทยานิพนธ์ ‘ณัฐพล ใจจริง’

วันนี้ (25 สิงหาคม) กุลลดา เกษบุญชู มี้ด อดีตอาจารย์คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ยื่นข้อเรียกร้อง 3 ข้อถึงนายกสภาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและกรรมการสภาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กรณี ไชยันต์ ไชยพร ร้องเรียนวิทยานิพนธ์ปริญญาเอกของ ณัฐพล ใจจริง โดยมีรายละเอียดดังนี้   ให้สภาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยไม่ยอมรับการรายงานผลของกรรมการสอบสวนข้อเท็จจร...
ณัฐพล ใจจริง
1 ธันวาคม 2021

ฟ้องวิทยานิพนธ์ ‘ณัฐพล ใจจริง’ สะท้อนความขัดแย้ง-แตกต่างทางความคิด ข้ามรัชสมัย

ข้อเท็จจริงชนวนการฟ้องร้อง กรณีวิทยานิพนธ์ของ ‘ณัฐพล ใจจริง’ ถูกฟ้องร้อง โดยณัฐพลในฐานะผู้เขียน เป็นจำเลยที่ 1 อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์คือ ‘กุลลดา เกษบุญชู มี้ด’ เป็นจำเลยที่ 2 ส่วนอีก 4 จำเลยคือสำนักพิมพ์ฟ้าเดียวและผู้ที่เกี่ยวข้องรวมทั้งหมดเป็น 6 จำเลย   ขณะที่ฝ่ายโจทก์คือ ม.ร.ว.ปรียนันทนา รังสิต หลานของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพ...
กุลลดา เกษบุญชู มี้ด
23 พฤศจิกายน 2021

เปิดใจ ‘กุลลดา เกษบุญชู มี้ด’ จำเลยที่ 2 คดี ‘ณัฐพล ใจจริง’ ถูกฟ้องปมเชิงอรรถ-เนื้อหาวิทยานิพนธ์

กุลลดา เกษบุญชู มี้ด คือจำเลยที่ 2 ในฐานะที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ของ ณัฐพล ใจจริง ที่กำลังเป็นประเด็น เธอคือนักวิชาการที่คนในแวดวงวิชาการรู้จักและยอมรับในบทบาทอย่างยิ่ง    ขณะที่อีกไม่กี่วันจะมีความคืบหน้าคดีฟ้องร้องงานวิชาการ ซึ่งเป็นวิทยานิพนธ์ดีมาก (Excellent) ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในปีการศึกษา 2552   ศาลแพ่งนัดวันที่ 3...
กุลลดา เกษบุญชู มี้ด
22 พฤศจิกายน 2021

รู้จัก ‘กุลลดา เกษบุญชู มี้ด’ จำเลยที่ 2 คดี ‘ณัฐพล ใจจริง’ ถูกฟ้องปมเชิงอรรถ-เนื้อหาวิทยานิพนธ์

อีกไม่กี่วันจะมีความคืบหน้าคดีฟ้องร้องงานวิชาการ ซึ่งเป็นวิทยานิพนธ์ดีมาก (Excellent) ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยในปีการศึกษา 2552   ศาลแพ่งนัดวันที่ 30 พฤศจิกายน 2564 เพื่อฟังคำสั่งคำร้องขอเพิกถอนกระบวนพิจารณาผิดระเบียบที่เกี่ยวข้องกับจำเลยที่ 1 โดยศาลแพ่งจะนัดพร้อมและชี้สองสถานในประเด็นการสืบพยานอีกครั้งในโอกาสต่อไป   คดีนี้ ม....
12 พฤศจิกายน 2021

23 คณาจารย์รัฐศาสตร์ จุฬาฯ ออกแถลงการณ์ แสดงจุดยืน พร้อมเรียกร้องมหาวิทยาลัย ปกป้องเสรีภาพนักวิชาการ

วันนี้ (12 พฤศจิกายน) กลุ่มคณาจารย์คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จำนวน 23 รายชื่อ ออกแถลงการณ์และข้อเรียกร้อง ต่อกรณีการฟ้องร้องนักวิชาการและอาจารย์ที่ปรึกษา โดยมีรายละเอียดระบุว่า   ตามที่สังคมได้รับทราบถึงกรณี ม.ร.ว.ปรียนันทนา รังสิต ดำเนินคดีฟ้องร้องคดีแพ่งต่อ ผศ.ดร.ณัฐพล ใจจริง นักวิชาการผู้ผลิตงานวิจัยทางวิชาการ และอดีตนิสิตปริ...
เสรีภาพทางวิชาการ vs. การบิดเบือนประวัติศาสตร์
11 พฤศจิกายน 2021

เสรีภาพทางวิชาการ vs. การบิดเบือนประวัติศาสตร์ ย้อนปมทายาทราชสกุลรังสิต ฟ้อง ‘ณัฐพล ใจจริง’

ความเคลื่อนไหวสำคัญสำหรับวงวิชาการที่เมื่อมีความเห็นแตกต่างกันแล้วจะถึงขั้นมีการฟ้องร้อง อาจไม่ใช่เรื่องปกติที่พบเห็นได้บ่อยนัก   เพราะโดยทั่วไปแล้ว หากใครมีความเห็นแย้ง อาจด้วยความเชื่อในสำนักคิดแตกต่างหรือมีประสบการณ์แตกต่าง หรือมีเงื่อนไขใดๆ ก็ตามแตกต่างกัน ก็จะผลิตงานวิชาการที่นำเสนอหลักฐานพร้อมความเห็นแย้งเผยแพร่ผ่านงานวิชาการ เพื่อ...
26 มิถุนายน 2017

‘พลังเก่า-พลังใหม่’ การปะทะครั้งสุดท้ายในการเมืองไทย ผ่านมุมมอง กุลลดา เกษบุญชู-มี้ด

มองการเมืองไทยผ่านคอนเซปต์รัฐศาสตร์ 4 คอนเซปต์      อาจารย์กุลลดามองว่า การเมืองไทยมีความเป็นเส้นตรงที่ยักเยื้อง และเมื่อเปรียบเทียบกับประวัติศาสตร์ฝรั่งเศส เราอาจจะอยู่ในเส้นทางที่นำไปสู่ประชาธิปไตยเช่นกัน      การยักเยื้องที่เกิดขึ้นนั้นเป็นการปะทะกันระหว่างพลังเก่ากับพลังใหม่ สภาวะนี้ในปัจจุบันมีความรุนแรงมากก...


Close Advertising