×

กฎหมายอาญา

Key Messages
4 ตุลาคม 2023

กางข้อกฎหมาย ความรับผิดชอบทางอาญาของผู้ก่อเหตุที่เป็น ‘เด็ก’

วันนี้ (4 ตุลาคม) ภายหลังจากเหตุยิงในศูนย์การค้าสยามพารากอน ถนนพระรามที่ 1 โดยผู้ก่อเหตุเป็นเด็กชายอายุ 14 ปี จนมีการวิพากษ์วิจารณ์ต่อเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเนื่องจากผู้ก่อเหตุเป็นเยาวชน ทั้งนี้ มีการยกข้อกฎหมายเกี่ยวกับความรับผิดทางอาญาของผู้ก่อเหตุซึ่งเป็น ‘เด็ก’    THE STANDARD กางข้อกฎหมายจากการที่ สุรศักดิ์ ลิขสิทธิ์วัฒนกุล ผู้อำน...
4 ตุลาคม 2023

รองโฆษกสภาทนายความฯ ระบุผู้ก่อเหตุอายุ 14 ปี กฎหมายระบุอาจไม่ต้องรับโทษ แต่ใช้มาตรการอื่นจัดการ ส่วนผู้ปกครองอาจต้องรับโทษแทน

วันนี้ (4 ตุลาคม) วีรศักดิ์ โชติวานิช อุปนายกฝ่ายเทคโนโลยีและสารสนเทศ และรองโฆษกสภาทนายความในพระบรมราชูปถัมภ์ ได้แสดงความเห็นกรณีเยาวชนชายอายุ 14 ปี ใช้อาวุธปืนก่อเหตุยิงในศูนย์การค้าวานนี้ (3 ตุลาคม) ว่า   คดีนี้ผู้ก่อเหตุยังเป็นเด็กชายอายุ 14 ปี ซึ่งตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 74 ระบุว่า การกระทำที่กฎหมายบัญญัติว่าการลงมือกระทำผิดอาญาโดย...
ห้ามมีเพศสัมพันธ์
6 ธันวาคม 2022

อินโดนีเซียจ่อผ่านประมวลกฎหมายอาญาใหม่ ห้ามมีเพศสัมพันธ์นอกการแต่งงาน

เจ้าหน้าที่อาวุโสในรัฐบาลอินโดนีเซีย ยืนยันว่ารัฐบาลเตรียมให้สัตยาบันแก้ไขประมวลกฎหมายอาญาในวันนี้ (6 ธันวาคม) โดยเป็นการยกเครื่องกฎหมาย ซึ่งนักวิจารณ์มองว่าอาจจำกัดเสรีภาพและศีลธรรมของตำรวจภายในประเทศ   เนื้อหาในการปรับเปลี่ยนประมวลกฎหมายอาญาดังกล่าว ซึ่งเป็นที่ถกเถียงมากที่สุด คือมาตราที่กำหนดบทลงโทษสำหรับการมีเพศสัมพันธ์นอกการแต่งงาน ...
“กฎหมายร้ายแรงไม่ช่วยแก้ปัญหา” เปิดใจพ่อของสายน้ำ เยาวชนอายุ 16 ปีคนแรกที่ถูกตั้งข้อหา ม.112
29 มีนาคม 2021

“กฎหมายร้ายแรงไม่ช่วยแก้ปัญหา” เปิดใจพ่อของสายน้ำ เยาวชนอายุ 16 ปีคนแรกที่ถูกตั้งข้อหา ม.112

จากกรณีที่ สายน้ำ (สงวนชื่อสกุล) เยาวชนอายุ 16 ปี ที่ถูกฟ้องคดีตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 112 จากกรณีในช่วงที่ม็อบราษฎร จัดงานแฟชั่นโชว์ ‘รันเวย์ของประชาชน’ ที่หน้าวัดแขก สีลม เมื่อวันที่ 29 ตุลาคม 2563 โดยนับเป็นเยาวชนคนแรกที่ถูกตั้งข้อหาความผิดตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 112   มานะ (สงวนชื่อสกุล) คุณพ่อของสายน้ำ ให้สัมภาษณ์เปิดใจกับ THE STA...
เลื่อนฟังคำสั่งคดีอ่านแถลงการณ์หน้าสถานทูตเยอรมนี ไป 13 พ.ค. นี้ อยู่ระหว่างพิจารณาสำนวน แกนนำยืนยันสู้ต่อ
25 มีนาคม 2021

เลื่อนฟังคำสั่งคดีอ่านแถลงการณ์หน้าสถานทูตเยอรมนี ไป 13 พ.ค. นี้ อยู่ระหว่างพิจารณาสำนวน แกนนำยืนยันสู้ต่อ

วันนี้ (25 มีนาคม) เมื่อเวลา 09.50 น. ที่สำนักงานอัยการสูงสุด อาคารกรุงเทพใต้ มายด์-ภัสราวลี ธนกิจวิบูลย์ผล แนวร่วมกลุ่มราษฎร เดินทางมารายงานตัวตามที่อัยการนัดฟังคำสั่งคดีชุมนุมหน้าสถานทูตเยอรมนี ซึ่งถูกแจ้งข้อหาในความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 112 และยุยงปลุกปั่นฯ มาตรา 116 รวมถึงข้อหาอื่นๆ    มายด์ ภัสราวลี เปิดเผยว่า วันนี้มารอ...
นายกฯ แจง ปฏิรูปกฎหมายอาญา ลบข้อครหาคุกมีไว้ขังคนจน แต่มีไว้ขังคนทำผิดร้ายแรง
16 กุมภาพันธ์ 2021

นายกฯ แจง ปฏิรูปกฎหมายอาญา ลบข้อครหาคุกมีไว้ขังคนจน แต่มีไว้ขังคนทำผิดร้ายแรง

วันนี้ (16 กุมภาพันธ์) พล.อ. ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ชี้แจงการอภิปรายไม่ไว้วางใจว่า ยืนยันรัฐบาลมีความจริงใจในการปฏิรูปกฎหมายเพื่อให้เป็นไปตามยุทธศาสตร์ กฎหมายจากจำนวน 276 ฉบับ ดำเนินการเสร็จแล้ว 53 ฉบับ คิดเป็นร้อยละ 23 ที่เสนอกฎหมาย โดยเป็นกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินอำนวยความสะดวกแก้ไขเสร็จแล้วในระดับหน...
เทียบข้อแตกต่าง ‘การทำแท้ง’ ในกฎหมายอาญาเดิม และกฎหมายอาญาแก้ไขใหม่
8 กุมภาพันธ์ 2021

เทียบข้อแตกต่าง ‘การทำแท้ง’ ในกฎหมายอาญาเดิม และกฎหมายอาญาแก้ไขใหม่

 เมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ์ ราชกิจจานุเบกษาได้เผยแพร่ พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญา ฉบับที่ 28 พ.ศ. 2564 เพื่อแก้ไขเพิ่มเติมความผิดฐานทำแท้งที่ใช้มาตั้งแต่ พ.ศ. 2499 ให้หญิงสามารถทำแท้งได้ภายในอายุครรภ์ 12 สัปดาห์ และเพิ่มเหตุยกเว้นความผิดอื่นๆ โดยมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา คือ 7 กุมภาพันธ์  &nb...
5 มกราคม 2018

ทำไมฆ่าตัวตายต้องไลฟ์เฟซบุ๊ก แล้วไม่ช่วยผิดกฎหมายด้วยหรือ?

เหตุการณ์ล่าสุดที่สะเทือนความรู้สึกต่อผู้คนในสังคม ก็คือกรณีการฆ่าตัวตายของ นางสาวนิตยา สวัสดิวรรณ หรือ น้องเคลียร์ หญิงสาววัยรุ่นอายุ 18 ปี ที่ทำการว่าจ้างให้หนุ่มขับวินมอเตอร์ไซค์ช่วยถ่ายคลิป ซึ่งเป็นการไลฟ์สดระหว่างเธอกำลังก่อเหตุฆ่าตัวตาย ด้วยการกระโดดจากสะพานพระราม 8 ลงสู่แม่น้ำเจ้าพระยา ชนวนเหตุมาจากการผิดหวังเรื่องความรัก กระทั่งกลายเป็นกระแ...
6 ธันวาคม 2017

เข้าใจคณิตศาสตร์ในกฎหมายอาญา ทำไมโทษจำคุก 1 ปี ไม่เท่ากับจำคุก 12 เดือน

อ่านข่าวแล้วเคยเจอพาดหัวหรือการรายงานเนื้อหาว่า ตัดสินจำคุก 10 ปี 12 เดือน หรือ 26 ปี 12 เดือน หรือ 18 ปี 24 เดือน แบบนี้กันไหม ขอตอบแทนว่า…เคยแน่ๆ   และมักจะมีคำถามคาใจให้หงุดหงิดว่า เอ๊ะ! ทำไมไม่นับจำนวนเดือนเป็นรายปีให้มันรู้แล้วรู้รอดไป ตามความเข้าใจที่เราเคยเรียนหนังสือกันมาที่ 1 ปี ก็มี 12 เดือนไม่ใช่หรือ   เพราะฉะนั้น 1...

Close Advertising