×

หลุมดำ

Gaia BH1
7 พฤศจิกายน 2022

พบ ‘Gaia BH1’ หลุมดำที่อยู่ใกล้โลกที่สุดเท่าที่เคยเจอมา

ในจักรวาลมีเทหวัตถุที่น่าสนใจมากมาย หนึ่งในนั้นคือ ‘หลุมดำ’ เทหวัตถุทรงพลังที่แม้แต่แสงก็หนีออกมาจากแรงโน้มถ่วงอันมหาศาลของมันไม่ได้   ล่าสุดทีมงานของ ดร.คารีม เอล-บาดรี จากศูนย์ดาราศาสตร์ฟิสิกส์มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ดและสมิธโซเนียน ได้ประกาศการค้นพบหลุมดำชนิดมวลดาวฤกษ์ที่มีตำแหน่งอยู่ใกล้โลกมากที่สุด ทำลายสถิติของทุกหลุมนับจากอดีตที่ผ่านมา...
หลุมดำ
15 มิถุนายน 2022

กล้องโทรทรรศน์ฮับเบิลค้นพบ ‘หลุมดำ’ พเนจรในกาแล็กซีทางช้างเผือก

สื่อต่างประเทศรายงานวานนี้ (14 มิถุนายน) ว่ากล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลตรวจพบ ‘หลุมดำ’ ที่ล่องลอยอย่างโดดเดี่ยวบนกาแล็กซีทางช้างเผือกของเราได้เป็นครั้งแรก   ทีมนักวิจัยที่ทำการสำรวจเทหวัตถุดังกล่าวแบ่งออกเป็น 2 ทีมด้วยกัน โดยทีมแรกซึ่งนำโดย ไคแลช ซาฮุ (Kailash Sahu) นักวิทยาศาสตร์จากสถาบันวิทยาการกล้องโทรทรรศน์อวกาศในบัลติมอร์ ประเมินว่าห...
Sagittarius A
13 พฤษภาคม 2022

ภาพถ่ายแรกของหลุมดำใจกลางทางช้างเผือกบอกอะไรเราบ้าง?

ทีมนักดาราศาสตร์จาก European Southern Observatory (ESO) และเครือข่ายกล้องโทรทรรศน์วิทยุ Event Horizon Telescope (EHT) แถลงข่าวความสำเร็จในประมวลผลภาพถ่ายแรกในประวัติศาสตร์ของหลุมดำยักษ์บริเวณใจกลางกาแล็กซีทางช้างเผือก เมื่อวันที่ 12 พฤษภาคมที่ผ่านมาในงานประชุม National Science Foundation (NSF)   ภาพถ่ายนี้ถือเป็นหลักฐานสำคัญในการยืนยันกา...
หลุมดำยิ่งยวด
13 พฤษภาคม 2022

นักดาราศาสตร์เผยภาพ ‘หลุมดำยิ่งยวด’ ครั้งแรก ยืนยันการมีอยู่ของหลุมดำในใจกลางกาแล็กซีทางช้างเผือก

เป็นครั้งแรกที่นักดาราศาสตร์บันทึกและเผยแพร่ภาพหลุมดำมวลยิ่งยวด ณ ใจกลางของกาแล็กซีทางช้างเผือกของเรา ซึ่งถือเป็นหลักฐานที่มีน้ำหนักชิ้นสำคัญว่ากาแล็กซีหรือดาราจักรที่เราอยู่นั้นมีหลุมดำมวลยิ่งยวดอยู่เป็นศูนย์กลาง   หลุมดำนี้รู้จักในชื่อ Sagittarius A* บันทึกได้จากกล้อง Event Horizon Telescope (EHT) โดยตัวหลุมดำนั้นไม่เปล่งแสง แต่ภาพถ่าย...
nobel physics prize black hole
7 ตุลาคม 2020

รางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ ปี 2020 กับงานวิจัยที่ทำให้มนุษย์เข้าใจหลุมดำมากขึ้น

รางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ประจำปี 2020 อุทิศให้กับการทำความเข้าใจวัตถุลึกลับที่มาพร้อมกับปริศนาดำมืดที่สุดในเอกภพ นั่นคือ ‘หลุมดำ’ (Black Hole)   เงินรางวัลจำนวน 10 ล้านโครนจากการมอบรางวัลโนเบลครั้งนี้จะถูกแบ่งออกเป็นสองส่วน ครึ่งแรกมอบให้แก่ โรเจอร์ เพนโรส (Roger Penrose) จากมหาวิทยาลัยออกซ์ฟอร์ด สำหรับการค้นพบว่าการก่อเกิดหลุมดำสอดคล้องกับ...
Oscar of science
6 กันยายน 2019

ทีมนักวิทยาศาสตร์ผู้อยู่เบื้องหลังภาพหลุมดำภาพแรกของมวลมนุษยชาติ คว้ารางวัล Oscar of science

เมื่อวานที่ผ่านมา (5 ก.ย.) สำนักข่าวต่างประเทศรายงานว่าทีมนักวิทยาศาสตร์ 347 ชีวิตผู้อยู่เบื้องหลังภาพหลุมดำภาพแรกของมวลมนุษยชาติ คว้ารางวัล Breakthrough Prize in Fundamental Physics หรือรู้จักกันในชื่อรางวัล Oscars of science พร้อมเงินรางวัลกว่า 3 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (ราว 92 ล้านบาท) นับเป็นความสำเร็จครั้งยิ่งใหญ่ในวงการวิทยาศาสตร์และดาราศาสตร์โลก ...
12 เมษายน 2019

เบื้องหลังภาพหลุมดำที่ทั่วโลกฮือฮามาจากผลงานการสร้างอัลกอริทึมของนักวิทย์ฯ หญิงวัย 29 ปี เคที โบแมน

มีการเปิดเผยว่าภาพถ่ายหลุมดำ (Black hole) ที่เพิ่งเปิดเผยสู่สาธารณชนเมื่อช่วงกลางสัปดาห์ที่ผ่านมาและกำลังเป็นที่พูดถึงไปทั่วโลกในเวลานี้ ส่วนหนึ่งเป็นผลงานที่เกิดขึ้นจากการสร้างอัลกอริทึมของนักวิทยาศาสตร์หญิง วัย 29 ปี นามว่า เคที โบแมน (Katie Bouman)   ดร.เคที โบแมน จบการศึกษาด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์และปัญญาประดิษฐ์จากสถาบันเทคโนโลยีแมสซ...
หลุมดำ
11 เมษายน 2019

ครั้งแรกของมวลมนุษยชาติ! นักดาราศาสตร์เผยภาพหลุมดำจากกาแล็กซีอันไกลโพ้น

10 เมษายน 2019 มนุษยชาติได้เห็นภาพของ ‘หลุมดำ’ เป็นครั้งแรก หลังทีมนักดาราศาสตร์จากโครงการ Event Horizon Telescope เผยแพร่ภาพหลุมดำขนาดใหญ่ใจกลางกาแล็กซี Messier 87 (M87) ซึ่งอยู่ห่างจากโลกราว 55 ล้านปีแสง ถ่ายภาพโดยใช้เครือข่ายกล้องโทรทรรศน์วิทยุจากหอสังเกตการณ์ดาราศาสตร์ 8 แห่งทั่วโลก ...
Event Horizon Telescope
11 เมษายน 2019

นักดาราศาสตร์เผยภาพหลุมดำครั้งแรก มวลมากกว่าดวงอาทิตย์ 6,500 ล้านเท่า

โลกได้เห็นภาพของหลุมดำเป็นครั้งแรก หลังทีมนักดาราศาสตร์นานาชาติจากโครงการ Event Horizon Telescope ได้เผยแพร่ภาพถ่ายหลุมดำขนาดมหึมา ซึ่งอยู่ใจกลางกาแล็กซีที่มีชื่อว่า Messier 87 (M87) ห่างจากโลกราว 55 ล้านปีแสง   เชป โดเลแมน ผู้อำนวยการโครงการ Event Horizon Telescope แห่งมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด ประกาศข่าวดีเมื่อเวลา 20.00 น. วานนี้ (10 เม.ย....
9 ธันวาคม 2017

พบ ‘หลุมดำยักษ์’ ห่างโลกมากที่สุดเท่าที่เคยพบ นักวิทย์ฯ หวังช่วยไขปริศนายุคเริ่มต้นจักรวาล

นักดาราศาสตร์ตรวจพบหลุมดำยักษ์ที่มีระยะห่างไกลโลกมากที่สุดเท่าที่เคยมีบันทึกมา เล็งศึกษาพัฒนาการยุคเริ่มต้นของจักรวาล หลุมดำแห่งนี้เป็น ‘ควอซาร์’ หรือหลุมดำที่มีมวลมหาศาลล้อมรอบจานมวลรวมที่มาจากก๊าซร้อนจัด พร้อมด้วยการปลดปล่อยพลังงานและลำอนุภาคออกมาในทิศตั้งฉากด้วย จนถือเป็นวัตถุที่มีแสงสว่างอันดับต้นๆ ในเอกภพ   ข้อมูลบนวารสาร Nat...

Close Advertising