×

สมรสเท่าเทียม

สภา ผ่าน กฎหมาย สมรสเท่าเทียม
27 มีนาคม 2024

ปรบมือก้องสภา ‘ผู้แทนราษฎร’ ผ่าน กฎหมาย สมรสเท่าเทียม

วันนี้ (27 มีนาคม) ที่รัฐสภา ในการประชุมสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้วาระพิจารณาร่างพระราชบัญญัติ (พ.ร.บ.) แก้ไขประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ หรือกฎหมายสมรสเท่าเทียม ในวาระ 2 รายมาตรา ทั้งสิ้น 68 มาตรา โดยใช้เวลาในการพิจารณาราว 5 ชั่วโมง   ก่อนที่สภาผู้แทนราษฎรมีมติเสียงข้างมาก 400 เสียง ต่อ 10 เสียง ให้ความเห็นชอบร่างกฎหมายสมรสเท่าเทียม โดยหลังจ...
27 มีนาคม 2024

สภาโบกสะบัดธงสีรุ้ง ก่อนร่วมกันพิจารณากฎหมายสมรสเท่าเทียมวาระ 2 ‘วันนอร์’ นั่งเป็นประธาน

วันนี้ (27 มีนาคม) ที่รัฐสภา ในการประชุมสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้วาระพิจารณาร่างพระราชบัญญัติ (พ.ร.บ.) แก้ไขประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ หรือกฎหมายสมรสเท่าเทียม โดยมี วันมูหะมัดนอร์ มะทา ประธานสภาผู้แทนราษฎร และประธานรัฐสภา เป็นประธานในการประชุม   กฎหมายสมรสเท่าเทียมนั้นผ่านการพิจารณาในวาระ 2 รายมาตราในชั้นกรรมาธิการฯ ได้เสร็จสิ้นลงแล้ว โดยใ...
สมรสเท่าเทียม
26 มีนาคม 2024

สมรสเท่าเทียมเข้าสภา 27 มี.ค. ผลักดันเพื่อสร้างความเท่าเทียมทางเพศทุกมิติ

วันนี้ (26 มีนาคม) ความเคลื่อนไหวล่าสุดของการพิจารณาร่างกฎหมาย สมรสเท่าเทียม ธัญวัจน์ กมลวงศ์วัฒน์ สส. บัญชีรายชื่อ พรรคก้าวไกล ในฐานะรองประธานกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่าง พ.ร.บ.แก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. …. หรือร่างกฎหมายสมรสเท่าเทียม เปิดเผยว่า ร่างกฎหมายสมรสเท่าเทียมจะเข้าสู่การพิจารณาของสภา วาระ 2-3 ในวันที่ 27 ม...
สมรสเท่าเทียม
14 มีนาคม 2024

ร่างกฎหมายสมรสเท่าเทียมพิจารณาจบแล้ว ไม่รวมการขอสัญชาติ-คำนำหน้านาม เตรียมส่งให้สภาพิจารณาวาระ 2-3 คาดภายใน 27 มี.ค. นี้

วันนี้ (14 มีนาคม) ที่รัฐสภา อัครนันท์ กัณณ์กิตตินันท์ สส. กาญจนบุรี พรรคเพื่อไทย ในฐานะรองประธานคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติ (พ.ร.บ.) แก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... หรือร่าง พ.ร.บ.สมรสเท่าเทียม แถลงผลการประชุมว่า วันนี้ในชั้นกรรมาธิการฯ ได้มีการพิจารณาร่าง พ.ร.บ.สมรสเท่าเทียม เสร็จสมบูรณ์ครบถ้วนทุกม...
ร่างกฎหมายสมรสเท่าเทียม
12 มีนาคม 2024

เปิดรายละเอียดร่างกฎหมายสมรสเท่าเทียม หลังผ่านชั้นกรรมาธิการฯ

หลังสภารับหลักการร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ หรือที่รู้จักกันในนามของกฎหมายสมรสเท่าเทียมทั้ง 4 ฉบับ เมื่อ 21 ธันวาคม 2567 ที่ผ่านมา เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้มีความหลากหลายทางเพศสามารถสมรสได้อย่างถูกต้องตามกฎหมาย    ล่าสุดการพิจารณาในวาระ 2 รายมาตราในชั้นกรรมาธิการฯ ได้เสร็จสิ้นลงแล้ว และคาดว่าจะเข้าสู่การพิจ...
รศ.ดร.อานนท์ มาเม้า
4 มีนาคม 2024

‘สมรสเท่าเทียม’ ในความเงียบ เมื่อสังคมไปไกล แต่กฎหมายยังช้า

“...ในเรื่องการสมรส ตามจารีตประเพณีที่มีมาช้านาน วัตถุประสงค์ของการสมรสคือการที่ชายและหญิงอยู่กินกันฉันสามีภริยาเพื่อสร้างสถาบันครอบครัว มีบุตร ดำรงเผ่าพันธุ์ตามธรรมชาติ และมีการสืบทอดทรัพย์สิน มรดก มีการส่งต่อความผูกพันกันระหว่างพ่อ แม่ พี่ น้อง ลุง ป้า น้า อา ซึ่งการสมรสในระหว่างบุคคลผู้มีความหลากหลายทางเพศอาจไม่สามารถสร้างความผูกพันอันละเอียดอ่อ...
29 กุมภาพันธ์ 2024

ปักหมุด 1 มิ.ย. Bangkok Pride Festival 2024 ฉลองความหลากหลายทางเพศ

วันนี้ (29 กุมภาพันธ์) กรุงเทพมหานคร ร่วมกับนฤมิตไพรด์ แถลงข่าวจัด ‘Bangkok Pride Festival 2024’ ภายใต้แนวคิด Celebration of Love นับถอยหลังสู่การใช้กฎหมายสมรสเท่าเทียมก่อนสิ้นปี 2567 โดยในปีนี้การร่วมโบกธงสีรุ้งจะเป็นสัญลักษณ์ของการสนับสนุนสิทธิความหลากหลายทางเพศจากทุกภาคส่วน และเชิญชวนกลุ่ม LGBTQIA+ จากทั่วทุกมุมโลกให้มาเยือนประเทศไทย เพื่อนำเสนอ...
20 กุมภาพันธ์ 2024

นายกฯ อ้อนวอน กนง. เร่งถกลดดอกเบี้ย-ชี้ยิ่งลักษณ์กลับไทยทุกอย่างเป็นไปตามกฎหมาย

วันนี้ (20 กุมภาพันธ์) ที่ทำเนียบรัฐบาล เศรษฐา ทวีสิน นายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง กล่าวภายหลังการประชุมคณะรัฐมนตรี (ครม.) ถึงกรณีโพสต์ถึง ดนุชา พิชยนันท์ เลขาสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เห็นด้วยที่ควรจะมีการปรับลดดอกเบี้ย หลังสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติแถลง GDP ไตรมาส 4 ปี 2566 เติบโตได้เพียง 1.7% และตลอดทั้งปี 2566...
14 กุมภาพันธ์ 2024

‘แม้ไม่มีผลทางกฎหมาย แต่เพื่อยืนยันสิทธิ’ คู่รัก LGBTQIA+ เชียงใหม่ ‘จดแจ้งสมรสเท่าเทียม’

วันนี้ (14 กุมภาพันธ์) ช่างภาพข่าว THE STANDARD เดินทางไปยังที่ว่าการอำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ เพื่อเก็บภาพบรรยากาศคู่รักที่มีความหลากหลายทางเพศจำนวน 12 คู่ เดินทางมาขอ ‘จดแจ้งสมรสเท่าเทียม’ เพื่อแสดงออกเชิงสัญลักษณ์ พร้อมเร่งรัดให้มีการออกกฎหมายสมรสเท่าเทียม   สำหรับกิจกรรมในวันนี้ มีคู่รักที่มีความหลากหลายทางเพศเข้าร่วมจำนวน...
20 มกราคม 2024

ชมคลิป: สมรสเท่าเทียม เท่าเทียมจริงไหม? | KEY MESSAGES #117

หลังร่างกฎหมายสมรสเท่าเทียมทั้ง 4 ฉบับ ผ่านวาระแรกของสภาผู้แทนราษฎรไปเมื่อวันที่ 21 ธันวาคม 2566 และได้จัดตั้งคณะกรรมาธิการ (กมธ.) วิสามัญ จำนวน 39 คน เพื่อพิจารณาวาระ 2 ภายในระยะเวลา 60 วัน ทำให้ตอนนี้สิทธิของผู้มีความหลากหลายทางเพศในไทยกำลังเขยิบขึ้นอีกขั้น   แต่ร่างกฎหมายสมรสเท่าเทียมทั้ง 4 ฉบับ ที่เป็นร่างคณะรัฐมนตรี (ครม.) ร่างพรรคก...

Close Advertising