×

การศึกษาไทย

17 มกราคม 2023

นายกฯ โชว์ผลงานสร้างระบบหลักประกันโอกาสการศึกษาผ่าน กสศ. ช่วยเด็กยากจน 3.5 ล้านคน ไม่ให้หลุดออกนอกระบบ

วันนี้ (17 มกราคม) พล.อ. ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ได้โพสต์เฟซบุ๊กตอนหนึ่งระบุว่า “ประเด็นหนึ่งที่สำคัญอย่างยิ่งสำหรับผม นั่นคือเรื่องการศึกษา ซึ่งตั้งแต่ผมได้เข้ามารับตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ก็ได้มุ่งมั่นดำเนินนโยบายลดความเหลื่อมล้ำด้านการศึกษามาตลอด ด้วยการดูแลนักเรียน-นักศึกษาผู้ขาดแคลนทุนทรัพย์ ด้อยโอกาส ผ่านกอง...
2 ธันวาคม 2022

เจ้าสัวธนินท์ ชี้ประเทศจะรุ่งเรืองหรือล้มเหลวขึ้นอยู่กับ ‘การศึกษา’ พร้อมเผย 6 ค่านิยมผลักดัน CP สู่ความสำเร็จ

เจ้าสัวธนินท์ เจียรวนนท์ แห่งเครือเจริญโภคภัณฑ์ กล่าวว่า ประเทศจะรุ่งเรืองหรือล้มเหลวขึ้นอยู่กับ ‘การศึกษา’ พร้อมเผยค่านิยม 6 ข้อที่ผลักดัน CP สู่ความสำเร็จ   วานนี้ (1 ธันวาคม) ธนินท์ เจียรวนนท์ ประธานอาวุโสเครือเจริญโภคภัณฑ์ กล่าวปาฐกถาในหัวข้อ ‘Challenge & Opportunities for the New Chapter of Education’ ในงาน Forum for World Educa...
27 พฤศจิกายน 2022

‘แอนนา’ มองคนรุ่นใหม่ต้องการการรับฟังที่เข้าใจ และได้รับการตอบแทนที่เป็นธรรม

วันนี้ (27 พฤศจิกายน) ที่ Crystal Design Center (CDC HALL) งาน THE STANDARD ECONOMIC FORUM 2022 ในธีม ‘EDGE OF TOMORROW เศรษฐกิจไทยบนปากเหว’ ปิดท้ายการเสวนาร่วมพูดคุยกับคนรุ่นใหม่ ได้แก่ ศานนท์ หวังสร้างบุญ, พริษฐ์ วัชรสินธุ, คมสันต์ ลี และ แอนนา เสืองามเอี่ยม ในหัวข้อ ‘GENERATION HOPE อนาคตประเทศไทยในมือคนรุ่นใหม่’ ดำเนินรายการโดย นครินทร์ วนกิจไพ...
14 พฤศจิกายน 2022

คุยกับตัวแทนเยาวชนไทยจาก APEC Voices of the Future กับปัญหาความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา และแนวคิดผ่าทางตัน

เมื่อสุดสัปดาห์ที่ผ่านมา THE STANDARD มีโอกาสสัมภาษณ์น้องๆ ตัวแทนเยาวชนจากกิจกรรม APEC Voices of the Future 2022 ซึ่งเป็นกิจกรรมที่เยาวชนจาก 21 เขตเศรษฐกิจ มาร่วมอภิปรายในประเด็นปัญหาต่างๆ ในประเทศของตัวเอง เช่น ประเด็นด้านสิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจ หรือพลังงาน   ในฐานะที่ไทยเป็นเจ้าภาพ APEC ในปีนี้ ประเด็นแรกที่เรารู้สึกสนใจคือ แล้วเยาวชนจากป...
non-textbook history
31 ธันวาคม 2021

‘ประวัติศาสตร์นอกตำรา’ กับของชำรุดในประวัติศาสตร์ไทย ชวนคุยกับ อดิศักดิ์ ศรีสม

ประวัติศาสตร์ในกระแสหลักเดินทางมาถึงจุดหักเหอีกครั้ง เมื่อถูกท้าทายด้วยสื่อสมัยใหม่ไม่ว่าจะเป็น Facebook, YouTube ซึ่งทุกคนสามารถผลิตและเผยแพร่ความรู้ทางประวัติศาสตร์ได้อย่างอิสระ ทำให้สังคมมีทางเลือกต่อการรับรู้อดีตอีกชุดหนึ่ง ส่งผลทำให้อำนาจของการผูกขาดอดีตโดยรัฐไม่อาจยึดกุมสำนึกและความคิดของประชาชนได้ง่ายๆ อีกต่อไป      ...
28 พฤศจิกายน 2021

ชมคลิป: มอง ‘ปฏิรูปการศึกษาไทย’ เดินต่ออย่างไร

การปฏิรูปการศึกษาเป็นที่พูดถึงมาอย่างยาวนาน อย่างไรก็ตามผลลัพธ์ที่เป็นรูปธรรมอาจยังไม่ชัดเจนมากนัก โดยบนเวที THE STANDARD ECONOMIC FORUM 2021 ในช่วงยุทธศาสตร์ใหม่ยกเครื่องการศึกษาไทย โดย อรรถพล อนันตวรสกุล, สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์, สาคร สุขศรีวงศ์ และ ลภนพัฒน์ หวังไพสิฐ มีการพูดถึงประเด็นรากเหง้าปัญหาของการปฏิรูปการศึกษา และแนวทางที่จะเดินต่อไปในเส...
thai-education
13 พฤศจิกายน 2021

เด็กฉลาด ชาติเจริญ: จะฉลาดอย่างไรในวันที่ต้องเรียนออนไลน์

การกลับมาเปิดโรงเรียนแบบออนไซต์นับตั้งแต่วันที่ 1 พฤศจิกายน 2564 เป็นต้นมา คือหมุดหมายสำคัญของนโยบายการศึกษาของไทยในช่วงการระบาดของโรคโควิด แม้ที่ผ่านมาการเรียนออนไลน์คือทางเลือกและทางรอดของสถาบันการศึกษา แต่ผลกระทบของมันอาจมากกว่าแค่ ‘เรียนไม่รู้เรื่อง’ บทความนี้พาไปสำรวจงานวิจัยที่ศึกษาผลกระทบของการเรียนออนไลน์ว่าสามารถทำให้ ‘เด็กฉลาด’ ได้หรือไม่...
higher education
27 ตุลาคม 2021

อว. ปลดล็อกปริญญาตรี-โท-เอก เรียนกี่ปีก็ได้ อนาคตอาจเรียนจบปริญญาตรีใน 2 ปี

วันนี้ (27 ตุลาคม) ศุภชัย ปทุมนากุล รองปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) เปิดเผยกรณีคณะกรรมการมาตรฐานการอุดมศึกษา (กมอ.) มีมติยกเลิกการกำหนดเวลาเรียนปริญญาในระดับอุดมศึกษาทุกระดับเพื่อตอบโจทย์การเรียนของนักศึกษา และนับเป็นหนึ่งในโครงการ 12 เดือน 12 ดี กระทรวง อว. ว่ายกเลิกการกำหนดเวลาเรียนปริญญาในระดับอุดมศึกษาทุกระดับ เป็น...
Limited Education 2021
20 สิงหาคม 2021

อย่าปล่อยให้การศึกษาของเด็กไทยจบอยู่แค่ในจินตนาการ Limited Education 2021

คุณอาจเคยผ่านตาโพสต์ชวนหัวเราะในโชเชียลมีเดียจากเหล่าบรรดาคุณครูและผู้ปกครองที่แชร์รูปการบ้านและข้อสอบของเด็กนักเรียน ที่มีการสะกดคำไม่ถูกต้องตามตัวสะกดและวรรณยุกต์ หรือเขียนคำตอบผิดจนเปลี่ยนความหมายของเนื้อหาไปโดยสิ้นเชิง ในสายตาของผู้ใหญ่ มันอาจจะเป็นความน่ารัก น่าเอ็นดู หรือตลกขบขัน แต่หากมองให้ลึกกว่านั้น เบื้องหลังคำตอบจากเด็กหลายคน ไม...
ดาริกา ลัทธพิพัฒน์
5 สิงหาคม 2021

การศึกษาไทย (ยัง) น่าห่วง? คุยกับ ดร.ดาริกา ลัทธพิพัฒน์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ถึงเรื่องการศึกษาไทย เด็กเกิดน้อยลง มหาวิทยาลัยต้องปรับตัวอย่างไร [Advertorial]

ถึงดีกรีการศึกษาในระดับปริญญาตรีถึงปริญญาเอกของ ‘ดร.แพรว-ดาริกา ลัทธพิพัฒน์’ ซึ่งปัจจุบันรั้งตำแหน่งอธิการบดีมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ และประธานกรรมการบริหารโรงเรียนนานาชาติเวลลิงตันคอลเลจ กรุงเทพ จะไม่ได้จบในเรื่องที่เกี่ยวกับการศึกษาโดยตรง    แต่ ดร.แพรว ก็มีความเข้าใจในเรื่องของการศึกษาไม่น้อยทั้งจากการที่อยู่ในครอบครัวที่อยู่ในแ...


Close Advertising