×

กฎหมาย

3 กันยายน 2024

กฎหมาย ‘จริยธรรม’ บีบงานวิจัย? เมื่อสังคมค้าน จนรัฐบาลถอยกลับไปทบทวน

ราว 1 สัปดาห์เท่านั้น ภายหลังคณะรัฐมนตรี (ครม.) มีมติเห็นชอบ ‘ร่าง พ.ร.ฎ.ว่าด้วยหลักเกณฑ์การวิจัยและข้อกำหนดจริยธรรมการวิจัย ซึ่งมีปัญหากับหลักศาสนา วัฒนธรรม จารีตประเพณี หรือศีลธรรมอันดีของประชาชน พ.ศ. ....’ ซึ่งตามมาด้วยเสียงวิจารณ์หนาหู โดยเฉพาะจากแวดวงวิชาการ   ล่าสุดวันนี้ (3 กันยายน) ผลการประชุม ครม. มีมตินำร่าง พ.ร.ฎ. ดังกล่าวกลับ...
18 มิถุนายน 2024

ศาลรัฐธรรมนูญมีมติเอกฉันท์ วินิจฉัยกฎหมายที่ให้ ‘สามี-ภริยา’ ฟ้องเรียกค่าเสียหายจากชู้ได้ ขัดรัฐธรรมนูญ

วันนี้ (18 มิถุนายน) ศาลรัฐธรรมนูญมีมติเป็นเอกฉันท์ ว่าประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1523 วรรคสอง ที่บัญญัติว่า ‘สามีจะเรียกค่าทดแทนจากผู้ซึ่งล่วงเกินภรรยาไปในทำนองชู้สาวก็ได้ และภริยาจะเรียกค่าทดแทนจากหญิงอื่นที่แสดงตนโดยเปิดเผยเพื่อแสดงว่าตนมีความสัมพันธ์กับสามีในทำนองชู้สาวก็ได้’ มีปัญหาเกี่ยวกับความชอบด้วยรัฐธรรมนูญมาตรา 27 วรรคหนึ่ง วรรคสอง...
4 มิถุนายน 2024

อนุทินย้ำ “อย่าเอากัญชามาเป็นเรื่องการเมือง” ไม่ก้าวก่าย สธ. นำกัญชากลับเป็นยาเสพติด

วันนี้ (4 มิถุนายน) ที่ทำเนียบรัฐบาล สมศักดิ์ เทพสุทิน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข กล่าวถึงการเตรียมนำกัญชากลับเข้ามาอยู่ในบัญชียาเสพติด โดยระบุว่า ถ้านำกลับมาเป็นยาเสพติด ก็ต้องเขียนคำอธิบายตามมา คือกฎกระทรวงที่ระบุว่าอะไรทำได้หรือทำไม่ได้ แต่หากไม่ได้เป็นยาเสพติด ต้องใช้ พ.ร.บ.กัญชา กัญชง สิ่งที่ทำได้หรือไม่ได้ก็ต้องเขียนลงไปในกฎหมายดังกล่าว ...
4 มิถุนายน 2024

รัฐจะเปลี่ยนแปลงอะไรก็ได้ แต่นโยบายต้องชัด! เมื่ออุตสาหกรรมกัญชงและกัญชาไทยตกอยู่ในสภาวะสุญญากาศ

เวลากว่า 5 ปีที่คนไทยสามารถใช้ประโยชน์จากกัญชาได้ทั้งในทางการแพทย์และสุขภาพตั้งแต่ช่วงปี 2018 และช่วง 2 ปีหลังก็สามารถใช้เพื่อสันทนาการ มีนโยบายสนับสนุนให้วิสาหกิจชุมชนปลูกกัญชาเพื่ออุตสาหกรรมและการแพทย์ อนุญาตให้ประชาชนปลูกกัญชาบ้านละ 15 ต้น ตลอดจนส่งเสริมให้นำกัญชาไปใช้ในอุตสาหกรรมต่างๆ   ตอนนี้เกิดประเด็นร้อนขึ้นอีกครั้ง เมื่อเร็วๆ นี...
สมรสเท่าเทียม
3 มิถุนายน 2024

ปี 2024 ชาติไหนประกาศใช้ ‘สมรสเท่าเทียม’ แล้วบ้าง

หลายชาติในประชาคมโลกต่างทยอยเปิดพื้นที่และโอบรับความแตกต่างหลากหลายในสังคมมากยิ่งขึ้น โดยเฉพาะในมิติของความหลากหลายทางเพศและความเท่าเทียมทางเพศ นับตั้งแต่ปี 2001 จนถึงปัจจุบัน มีอย่างน้อย 37 ชาติทั่วโลกที่ประกาศใช้กฎหมายสมรสเท่าเทียม อนุญาตให้คู่รักเพศเดียวกันสามารถสมรสกันได้อย่างถูกต้องตามกฎหมายเช่นเดียวกับคู่รักชายหญิง   เนเธอร์แลนด์ถื...
วิษณุ
31 พฤษภาคม 2024

โรม​ถาม​เศรษฐา ตั้ง​วิษณุ​นั่งเนติบริกรรัฐบาล เหตุ​ไม่ไว้ใจมือกฎหมายเพื่อไทย​หรือไม่

วันนี้ (31 พฤษภาคม) รังสิมันต์​ โรม​ สส.​ บัญชีรายชื่อ​ พรรคก้าวไกล​ กล่าวถึงกรณีที่ เศรษฐา​ ทวีสิน นายกรัฐมนตรี แต่งตั้ง วิษณุ​ เครืองาม​ อดีตรองนายกรัฐมนตรี เป็นที่ปรึกษาของนายกรัฐมนตรีด้านกฎหมายและระเบียบปฏิบัติราชการ​ว่า​ ต้องมองว่าที่ผ่านมาคืออะไร​ และมีข้อท้วงติงปัญหาด้านกฎหมายต่างๆ มาตลอด แสดงว่าสิ่งที่หลายฝ่ายตั้งคำถามว่า พรรคเพื่อไทยขาดมือ...
28 เมษายน 2024

อิรักเตรียมออกกฎหมายใหม่ LGBTQIA+ อาจต้องโทษจำคุก 10-15 ปี

รัฐสภาอิรักเตรียมออกกฎหมายใหม่ กำหนดโทษจำคุก 10-15 ปีสำหรับความสัมพันธ์ระหว่างผู้มีความหลากหลายทางเพศ หรือกลุ่ม LGBTQIA+ ในอิรัก โดยหนึ่งในสมาชิกของรัฐสภาเผยว่า ร่างกฎหมายฉบับนี้จะเป็นก้าวสำคัญในการต่อสู้กับ ‘ความเบี่ยงเบนทางเพศ’ ซึ่งแทรกซึมและก่อให้เกิดข้อถกเถียงต่อค่านิยมอิสลามในสังคมอิรักขณะนี้   กลุ่มคนข้ามเพศ หรือทรานส์เจนเดอร์ ในอิ...
Entertainment Complex
9 เมษายน 2024

99 นักวิชาการ รวมชื่อค้านรัฐบาล Entertainment Complex ยกผลเสียด้านเศรษฐศาสตร์ การแพทย์ และกฎหมาย

วานนี้ (8 เมษายน) นักวิชาการจำนวน 99 รายชื่อได้ร่วมกันออกแถลงการณ์คัดค้าน Entertainment Complex โดยระบุว่า ตามที่สภาผู้แทนราษฎรได้มีมติเห็นชอบรายงานการศึกษาของคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาการเปิดสถานบันเทิงครบวงจร (Entertainment Complex) เพื่อแก้ปัญหาการพนันผิดกฎหมายและเพื่อประโยชน์ด้านเศรษฐกิจของประเทศ เมื่อวันที่ 28 มีนาคมที่ผ่า...
ร่างกฎหมาย
6 มีนาคม 2024

เทียบ 4 ร่างกฎหมายเพิ่มสิทธิและสวัสดิภาพแรงงาน

วันนี้ (6 มีนาคม) สภาผู้แทนราษฎรเตรียมพิจารณา ร่างกฎหมาย ซึ่งเกี่ยวกับการเพิ่มสิทธิและสวัสดิภาพของแรงงาน จำนวน 4 ฉบับ ซึ่งมาจากพรรคก้าวไกล 2 ฉบับ, พรรคภูมิใจไทย 1 ฉบับ และกระทรวงแรงงานอีก 1 ฉบับ ในวาระที่หนึ่งหรือขั้นรับหลักการ   THE STANDARD ชวนอ่านเทียบสาระสำคัญของ 4 ร่างกฎหมายเพิ่มสิทธิและสวัสดิภาพแรงงาน     ภาพปร...
รศ.ดร.อานนท์ มาเม้า
4 มีนาคม 2024

‘สมรสเท่าเทียม’ ในความเงียบ เมื่อสังคมไปไกล แต่กฎหมายยังช้า

“...ในเรื่องการสมรส ตามจารีตประเพณีที่มีมาช้านาน วัตถุประสงค์ของการสมรสคือการที่ชายและหญิงอยู่กินกันฉันสามีภริยาเพื่อสร้างสถาบันครอบครัว มีบุตร ดำรงเผ่าพันธุ์ตามธรรมชาติ และมีการสืบทอดทรัพย์สิน มรดก มีการส่งต่อความผูกพันกันระหว่างพ่อ แม่ พี่ น้อง ลุง ป้า น้า อา ซึ่งการสมรสในระหว่างบุคคลผู้มีความหลากหลายทางเพศอาจไม่สามารถสร้างความผูกพันอันละเอียดอ่อ...


Close Advertising