×

Human-ศาสตร์

20 มกราคม 2025

ถอดรหัส LGBTQIA+ ในมุมวิวัฒนาการ

Human-ศาสตร์ เอพิโสดแรกของปี 2025 ว่าด้วยหัวข้อที่แฟนรายการเรียกร้องกันมากที่สุด คือ เรื่องความหลากหลายทางเพศในมุมวิวัฒนาการ   ความหลากหลายทางเพศเกี่ยวข้องกับยีนและพันธุกรรมอย่างไร ลักษณะเหล่านี้เป็นสิ่งที่ธรรมชาติคัดสรรมาหรือไม่ พร้อมชวนคิด-ตั้งคำถามกับนิยามความ ‘ปกติ’ ทั้งในเชิงประวัติศาสตร์ สังคม และวัฒนธรรม   ดำเนินรายการโ...
ความหึงหวงและการนอกใจ มีเหตุผลในแง่วิวัฒนาการ?
9 ธันวาคม 2024

ความหึงหวงและการนอกใจ มีเหตุผลในแง่วิวัฒนาการ?

Human-ศาสตร์ เอพิโสดนี้ ชวนหาคำตอบว่าความเจ้าชู้และการนอกใจมีเหตุผลในเชิงวิวัฒนาการซ่อนอยู่หรือไม่ และเมื่อเราถูกนอกใจ ทำไมการตอบสนองหรือพฤติกรรม ‘หึงหวง’ ของแต่ละเพศจึงไม่เหมือนกัน? ดำเนินรายการโดย หมอเอ้ว-ชัชพล เกียรติขจรธาดา และ ปลายฝน-ภัทรสุดา บุญญศรี     Credits   Host ชัชพล เกียรติขจรธาดา Co-Host ภัทรสุดา บ...
2 ธันวาคม 2024

ทำไมผู้หญิงต้องอุ้มท้อง และผู้ชายมักเป็นฝ่ายจีบ?

หากมองการสืบพันธุ์เป็นการลงทุน คุณคิดว่าใครลงทุนมากกว่ากัน?   Human-ศาสตร์ เอพิโสดนี้ ชวนถอดรหัสวิวัฒนาการในแง่ของ ‘การลงทุน’ เพื่อส่งต่อพันธุกรรม ผ่านสองคำถามง่ายๆ (แต่ตอบยาก) ที่เหมือนจะไม่เกี่ยวข้องกันเลยคือ ทำไมผู้หญิงต้องเป็นฝ่ายอุ้มท้อง และผู้ชายมักเป็นฝ่ายจีบก่อน?   สองคำถามนี้เกี่ยวข้องกันอย่างไร ฝ่ายไหนได้เปรียบ-เสียเ...
ทำไมมนุษย์
18 พฤศจิกายน 2024

ช่องคลอดแคบ-ศีรษะใหญ่ คือกลไกวิวัฒนาการ?

Human-ศาสตร์ เอพิโสดนี้ชวนคุยเรื่องการคลอดลูกของมนุษย์ รวมถึงการดูแลทารกที่ต่างจากสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมชนิดอื่นๆ   ทำไมเราถึงคลอดลูกเองไม่ได้ (ต้องมีคนช่วย แม้คลอดเองตามธรรมชาติ) ทำไมขนาดอุ้งเชิงกรานจึงไม่สัมพันธ์กับขนาดสมองของเด็ก และปัจจัยเหล่านี้ส่งผลต่อ ‘การเดิน’ และ ‘การพูด’ ของมนุษย์อย่างไร ตามไปถอดรหัสวิวัฒนาการได้ในเอพิโสดนี้ &...
หมูเด้ง หมีเนย
11 พฤศจิกายน 2024

หมูเด้ง-หมีเนย ทำไมน่ารัก นักวิทยาศาสตร์มีคำตอบ!

Human-ศาสตร์ เอพิโสดนี้ ว่าด้วยวิทยาศาสตร์ของ ‘ความน่ารัก’ เริ่มจากคำถามง่ายๆ ว่า ทำไมความน่ารักแบบ ‘หมูเด้ง’ หรือ ‘หมีเนย’ ถึงเป็นสากล?    องค์ประกอบหรือปัจจัยอะไรที่ทำให้มนุษย์รู้สึกว่าสิ่งนี้น่ารักน่าเอ็นดู ทำไมทารกหรือสัตว์ที่อายุน้อยจึงดูน่ารักกว่าตอนโตเต็มวัย ความเชื่องและความดุร้ายส่งผลต่อความน่ารัก (และการเอาชีวิตรอด) แค่ไหน...
4 พฤศจิกายน 2024

วิวัฒนาการ ‘การกิน’ ทำไมของอร่อยไม่ค่อยมีประโยชน์?

เคยสงสัยกันไหมว่า ทำไมของอร่อยมักไม่ค่อยมีประโยชน์ ส่วนอาหารที่มีประโยชน์กลับไม่ค่อยอร่อย!   Human-ศาสตร์ เอพิโสดนี้ ว่าด้วยเรื่องอาหารการกินของมนุษย์ ชวนหาคำตอบที่หลายคนน่าจะเคยสงสัย ทำไมเราชอบกินของหวาน ของทอด ของมัน สิ่งเหล่านี้สัมพันธ์กับร่างกายเราอย่างไร เกี่ยวข้องเรื่องวิวัฒนาการหรือไม่ การกินของเราทุกวันนี้แตกต่างจากมนุษย์ยุคหินอย...
14 ตุลาคม 2024

วิวัฒนาการความโกรธ อะไรทำให้มนุษย์ต้องเปิดโหมด ‘หัวร้อน’

Human-ศาสตร์ เอพิโสดนี้ ชวนคุยเรื่องความโกรธและความรุนแรงในมุมวิวัฒนาการ ทำไมความขัดแย้งเล็กๆ น้อยๆ จึงกลายเป็นเรื่องคอขาดบาดตาย การทะเลาะวิวาทมีประโยชน์อย่างไรในโลกยุคเก่า และเหตุใดพฤติกรรมเหล่านี้จึงยังคงอยู่ ทั้งที่เราอยู่ในยุคที่มี ‘กฎหมาย’ ในการควบคุมสังคมแล้ว   ดำเนินรายการโดย หมอเอ้ว-ชัชพล เกียรติขจรธาดา และ ปลายฝน-ภัทรสุดา บุญญศร...
7 ตุลาคม 2024

มนุษย์ชอบนินทา เพราะเราจะได้รู้ว่าใครคือมิตรหรือศัตรู!?

Human-ศาสตร์ เอพิโสดนี้ ชวนคุยเรื่อง ‘การนินทา’ พฤติกรรมที่เหมือนจะธรรมดา แต่ไม่ธรรมดา เพราะในแง่วิวัฒนาการนั้น การนินทามีฟังก์ชันที่หลายคนอาจคิดไม่ถึง!   ประโยชน์ของการนินทาคืออะไร ทำไมจึงเป็นพฤติกรรมสำคัญต่อเผ่าพันธุ์มนุษย์ แล้วในสัตว์อื่นๆ มีพฤติกรรมลักษณะนี้หรือไม่ หาคำตอบได้ในเอพิโสดนี้   ดำเนินรายการโดย หมอเอ้ว-ชัชพล เกี...
9 กันยายน 2024

ส่วนเว้า-ส่วนโค้งของผู้หญิง คือสิ่งที่วิวัฒนาการคัดสรรมาแล้ว?

เคยสังเกตกันไหมว่า เวลาผู้ชายมองผู้หญิง สิ่งที่ดึงดูดสายตาเป็นลำดับแรกๆ คือสรีระที่มีส่วนเว้า-ส่วนโค้ง ซึ่งเป็นลักษณะเฉพาะของมนุษย์เพศหญิง   สิ่งที่น่าสนใจคือ การที่ผู้หญิงมีสรีระแบบนี้ รวมถึงการที่ผู้ชายชอบมองโดยสัญชาตญาณ มีเหตุผลทางวิวัฒนาการซ่อนอยู่      Human-ศาสตร์ เอพิโสดนี้ จะพาไปหาคำตอบว่า ทำไมผู้ชายถึงช...
26 สิงหาคม 2024

ทฤษฎีวิวัฒนาการ รู้ไปทำไม?

เมื่อพูดถึงชีววิทยา ทฤษฎีที่สำคัญที่สุดคือ ‘ทฤษฎีวิวัฒนาการ’ เพราะมันคือรากฐานที่ช่วยอธิบายว่าทำไมมนุษย์เราถึงเป็นแบบทุกวันนี้ ทั้งในแง่ร่างกาย สมอง และพฤติกรรม   ‘Human-ศาสตร์’ EP.1 จะพาไปปูพื้นฐานว่าทฤษฎีนี้สำคัญอย่างไร พร้อมไขข้อสงสัยว่า Charles Darwin เป็นผู้ให้กำเนิดทฤษฎีนี้จริงหรือไม่   ดำเนินรายการโดย หมอเอ้ว-ชัชพล เกีย...


Close Advertising