×

แผนกจิตเวช

พอดแคสต์ R U OK
14 พฤศจิกายน 2019

เปิดหู เปิดใจ ทะเลาะกันอย่างไรให้เข้าใจกันมากขึ้น

ในความสัมพันธ์ชีวิตคู่คงหลีกเลี่ยงไม่ได้ที่จะมีความเห็นไม่ตรงกัน จนเกิดการทะเลาะขึ้น แต่นั่นไม่สำคัญเท่ากับว่าปลายทางของการทะเลาะคืออะไร   R U OK ชวน นพ.ปีย์ เชษฐ์โชติศักดิ์​ เจ้าของเพจ Therory of Love มาคุยถึงเรื่องที่ต้องเกิดขึ้นในชีวิตคู่อย่างการทะเลาะ ว่ามีข้อห้ามอะไรบ้าง และมีวิธีไหมที่ทะเลาะกันแล้วจะนำพาไปสู่ความเข้าใจที่มากขึ้นกว่...
พอดแคสต์ R U OK
12 พฤศจิกายน 2019

จากตกหลุมรักจนถึงหมดโปรโมชัน เมื่อความรักอธิบายได้ด้วยวิทยาศาสตร์

‘ความรัก’ คือความรู้สึกหนึ่งของมนุษย์ที่พยายามหาคำอธิบายกันตลอดมา ทั้งเรื่องโรแมนติก พรหมลิขิต รักแรกพบ แต่อีกนัยหนึ่งความรักก็สามารถไขคำตอบได้ด้วยมุมมองของวิทยาศาสตร์   R U OK ซีรีส์ความสัมพันธ์ ชวน นพ.ปีย์​ เชษฐ์โชติศักดิ์​ เจ้าของเพจ Theory of love มาอธิบายความรักด้วยทฤษฎีจิตวิทยาวิวัฒนาการ เพื่อร่วมหาคำตอบกันว่า ทำไมเราถึงรักกัน ความ...
7 พฤศจิกายน 2019

ทำอย่างไรเมื่อบ้านไม่ใช่คอมฟอร์ตโซนของกันและกัน

ความสัมพันธ์ที่ใกล้ตัว บ่มเพาะความเป็นเรา และมีอิทธิพลกับชีวิตเรามากๆ คือ ‘ครอบครัว’ สำหรับบางคน ครอบครัวคือที่พึ่งพิงทางความรู้สึก แต่กับบางคนกลับคือที่แห่งความไม่ปลอดภัยทางใจ   R U OK ชวน นรพันธ์ ทองเชื่อม นักจิตวิทยาผู้เชี่ยวชาญด้านเด็กและวัยรุ่น มาคุยกันในประเด็นเรื่องความสัมพันธ์ ว่าจริงๆ แล้วครอบครัวจำเป็นต้องเป็นคอมฟอร์ตโซนไหม และ...
พอดแคสต์ R U OK
4 พฤศจิกายน 2019

โอบกอดข้อเสียของตัวเอง เพราะอย่างไรก็เป็นส่วนหนึ่งของตัวเรา

มนุษย์ทุกคนล้วนมีข้อเสีย ทางกายภาพอาจเห็นได้ง่าย เพราะจับต้องได้ เป็นรูปธรรม แต่ทางจิตใจ หากเราไม่สำรวจลงไปให้ลึก ก็อาจไม่พบความแหว่งวิ่น ซึ่งไม่ว่าจะเป็นด้านไหน ก็ไม่ใช่เรื่องง่าย   R U OK ชวน ฟ้า-ษริกา สารทศิลป์ศุภา บิวตี้บล็อกเกอร์ที่ทำยูทูบซีรีส์ ดึงสติ มาแชร์เรื่องการพิจารณาข้อเสียของตัวเอง รวมถึงวิธีการยอมรับข้อเสียต่างๆ ว่าไม่ว่าจ...
พอดแคสต์ R U OK
1 พฤศจิกายน 2019

ขั้นตอนการเป็นเพื่อนแท้กับตัวเอง

เข้าสู่เดือนพฤศจิกายนด้วยซีรีส์ใหม่ที่ว่าด้วยเรื่อง ‘ความสัมพันธ์’ ตลอดทั้งเดือนเราจะคุยจิตวิทยาผ่านเรื่องราวของความสัมพันธ์ที่เกิดขึ้นระหว่างจิตใจกับสิ่งต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นความสัมพันธ์กับตัวเอง ความสัมพันธ์ของสารเคมีในร่างกายเรา ความสัมพันธ์กับหมู่เพื่อน สังคม จนไปถึงความสัมพันธ์กับสภาพแวดล้อม    เอพิโสดแรกของซีรีส์ R U OK ชวน พญ.ทา...
พอดแคสต์ R U OK
28 ตุลาคม 2019

วาดรูป ละคร การเคลื่อนไหว ศิลปะที่ช่วยบำบัดและทำงานกับความซับซ้อนของจิตใจ

ซีรีส์ ‘วันนี้เราจะไม่เศร้า’ ฟ้า-ษริกา สารทศิลป์ศุภา ยูทูเบอร์ผู้มีความหลงใหลในงานศิลปะ ชวน R U OK ไขข้อสงสัยเกี่ยวกับศาสตร์ของศิลปะ   ศิลปะบำบัด ทำงานกับร่างกายและจิตใจมนุษย์อย่างไร งานของนักจิตบำบัดทำงานต่างกับจิตแพทย์อย่างไร รวมทั้งการใช้ ‘ศิลปะ’ ซึ่งไม่ใช่ยารักษาโรคซึมเศร้า แต่ใช้ศิลปะเป็นกระบวนการเป็นตัวช่วยให้มนุษย์ได้ระบายความเครี...
พอดแคสต์ R U OK
25 ตุลาคม 2019

ทำอย่างไรเมื่อเพื่อนพูดว่า อยากฆ่าตัวตาย

หลายปีที่ผ่านมานี้ คงปฏิเสธไม่ได้ว่าภาวะซึมเศร้าเป็นหนึ่งในสาเหตุของอัตราการเสียชีวิตเพิ่มขึ้นเรื่อยๆในสังคมบ้านเรา แต่จริงๆ แล้วคนที่มีภาวะซึมเศร้าทุกคนไม่ได้อยากฆ่าตัวตาย และคนที่ฆ่าตัวตายทุกคนไม่ได้มีภาวะซึมเศร้า    R U OK ชวน หมอเอิ้น-พิยะดา หาชัยภูมิ มาให้คำแนะนำ วิธีประคองใจของผู้ที่มีภาวะซึมเศร้า เพื่อที่จะได้รู้จักวิธีสร้างพ...
พอดแคสต์ R U OK
21 ตุลาคม 2019

ดูแลกายและใจอย่างไร เมื่อถูกวินิจฉัยว่ามีโรคซึมเศร้า

คนจำนวนไม่น้อยที่เดินเข้าไปพบจิตแพทย์ และถูกวินิจฉัยว่ามีโรคซึมเศร้า อาจเกิดความสงสัยว่านอกจากการกินยาอย่างสม่ำเสมอแล้ว ควรปฏิบัติตัวอย่างไรอีกบ้าง   R U OK ชวน พญ.ทานตะวัน อวิรุทธ์วรกุล จิตแพทย์จากสถาบันการแพทย์จักรีนฤบดินทร์ มาตอบข้อสงสัยทั้งกินยาแล้วกินแอลกอฮอล์ได้ไหม? จำเป็นต้องออกกำลังกายหรือเปล่า? จะมีวิธีสังเกตสิ่งกระตุ้นที่ทำให้เ...
พอดแคสต์ R U OK
17 ตุลาคม 2019

ไปเจอจิตแพทย์ครั้งแรกควรทำตัวอย่างไร และผิดไหมหากไม่รู้สึกไม่คลิกกับหมอ

อยากไปหาจิตแพทย์ครั้งแรกควรทำอย่างไร? ต้องเตรียมตัวเล่าเรื่องตัวเองไหม? คลินิก โรงพยาบาลรัฐ โรงพยาบาลเอกชนต่างกันอย่างไร? ใช้สิทธิบัตรทองหรือประกันสังคมได้หรือเปล่า? วอล์กอินได้ไหมหรือต้องโทรจองก่อน?   R U OK คุยกับ พญ.ทานตะวัน อวิรุทธ์วรกุล เพื่อตอบคำถามของการไปหาจิตแพทย์ครั้งแรกว่าควรปฏิบัติตัวอย่างไร เพื่อให้การไปพบแพทย์มี...
พอดแคสต์ R U OK
11 ตุลาคม 2019

เมื่อวัยรุ่นมีภาวะซึมเศร้า จะสื่อสารอย่างไรให้คนรอบข้างเข้าใจ

วัยรุ่นเป็นวัยที่เผชิญกับความเปลี่ยนแปลงหลายอย่างในชีวิต ทั้งด้านร่างกาย ความคิด และสังคม จึงเป็นวัยหนึ่งที่อาจเกิดความเครียดและนำไปสู่ภาวะซึมเศร้าได้ไม่ต่างจากวัยผู้ใหญ่   R U OK ชวน ต้น-นรพันธ์ ทองเชื่อม นักจิตวิทยาผู้เชี่ยวชาญด้านเด็กและวัยรุ่น มาร่วมหาทางออกว่าถ้าวัยรุ่นเริ่มรู้สึกว่าตัวเองอาจเข้าข่ายมีภาวะซึมเศร้า ควรเริ่มต้นสื่อสาร...

Close Advertising