×

เทคนิคตรวจสอบรอยร้าวของบ้านเบื้องต้น ร้าวแบบไหนถึงเรียกอันตราย!

28.03.2025
  • LOADING...
check-house-cracks

HIGHLIGHTS

  • หลังจากเหตุการณ์แผ่นดินไหว สิ่งที่อาจจะตามมาแน่นอนคือรอยร้าวที่ผนังหรือโครงสร้างอาคาร วันนี้เราเลยรวบรวมเทคนิคการตรวจสอบรอยร้าวในอาคารว่าร้าวขนาดไหนที่อยู่ในระดับอันตราย

ร้าวแบบไหนถึงเรียกอันตราย?

 

เชื่อว่าหลังจากเหตุการณ์แผ่นดินไหว สิ่งที่อาจจะตามมาแน่นอนคือรอยร้าวที่ผนังหรือโครงสร้างอาคาร วันนี้เราเลยรวบรวมเทคนิคการตรวจสอบรอยร้าวในอาคารว่าร้าวขนาดไหนที่อยู่ในระดับอันตราย 

 

1. รอยแตกเส้นผม (Hairline Cracks)

 

1. รอยแตกเส้นผม (Hairline Cracks) รอยแตกลักษณะนี้มีความกว้างระดับเส้นผม ระดับความอันตรายถือว่าต่ำที่สุด

 


 

2. รอยแตกแนวตั้ง (Vertical Cracks)

 

2. รอยแตกแนวตั้ง (Vertical Cracks) รอยแตกนี้ขนาดจะกว้าง มีทั้งมากและน้อย ลักษณะเป็นเส้นแนวตั้ง ระดับความอันตรายถือว่าอยู่ในระดับต่ำถึงปานกลาง (แต่หากรอยร้าวกว้างเกิน 5 มิลลิเมตร ควรให้ผู้เชี่ยวชาญมาตรวจสอบ)

 


 

 

3. รอยแตกแนวนอน (Horizontal Cracks)

 

3. รอยแตกแนวนอน (Horizontal Cracks) รอยแตกประเภทนี้ขนาดจะกว้าง มีทั้งมากและน้อย ลักษณะเป็นเส้นแนวนอน ระดับความอันตรายถือว่าอยู่ในระดับสูง ควรให้ผู้เชี่ยวชาญมาตรวจสอบ

 


 

4. รอยแตกเฉียง (Diagonal Cracks)

 

4. รอยแตกเฉียง (Diagonal Cracks) รอยแตกประเภทนี้ขนาดจะกว้าง มีทั้งมากและน้อย ลักษณะเป็นเส้นแนวเฉียง ทำมุมประมาณ 30-70 องศา ระดับความอันตรายถือว่าอยู่ในระดับสูงที่สุด ควรให้ผู้เชี่ยวชาญมาตรวจสอบ

 

อ้างอิง: 

  • The Sales-Partan : หมอกิม / Facebook
  • LOADING...

READ MORE






Latest Stories

Close Advertising