×

ดร.สมประวิณ มันประเสริฐ

22 กันยายน 2022

‘ส่วนต่างรายได้’ กับนโยบายรักษาเสถียรภาพเศรษฐกิจ

“เมื่อเศรษฐกิจเจริญขึ้น การแบ่งสรรรายได้ของประเทศจะแตกต่างออกไป บุคคลบางคนอาจร่ำรวยมากขึ้น แต่บุคคลบางคนอาจจนลงก็ได้ ในเรื่องเหล่านี้… ต้องพิจารณาและหาทางแก้ไขอยู่เสมอ …เพื่อให้ความสุขแก่คนโดยทั่วถึง” - หนังสือ เศรษฐกิจแห่งประเทศไทย เขียนโดย ป๋วย อึ๊งภากรณ์ และ คุณหญิงสุภาพ ยศสุนทร ข่าวที่เกี่ยวข้อง กูรูชี้ ความขัดแย้งทางภูมิรัฐศาสตร...
ครัวเรือนไทย
31 สิงหาคม 2022

ครัวเรือนไทยพร้อมหรือไม่กับโลกที่มีความเสี่ยงมากขึ้น?

“People face substantial, even catastrophic, risk throughout most of the developing countries of the world. […] Even in developing countries such as Thailand, with modest per capita incomes on average, farmers in one locality can face fluctuations in net income that are substantial relative to other localities or to the nation as a whole.” - Robert...
เศรษฐกิจไทย เงินเฟ้อ
25 กรกฎาคม 2022

เศรษฐกิจไทย พร้อมหรือไม่ หากใช้ยาแรงแก้ปัญหาเงินเฟ้อ?

“By the time I became chairman and there was more of a feeling of urgency, there was a willingness to accept more forceful measures to try to deal with the inflation”   Paul Adolph Volcker Jr. Chair of the Federal Reserve (1979-1987)   ในเดือนมีนาคม 1980 Paul Volcker ผู้ว่าการธนาคารกลางสหรัฐฯ เผชิญความท้าทายในการดำเนินนโยบา...
ความไว้เนื้อเชื่อใจต่อการดำเนินนโยบายสาธารณะ
17 มิถุนายน 2022

Ted Talks เผย ‘เชื่อใจเพราะมีส่วนร่วม’ ความไว้เนื้อเชื่อใจต่อการดำเนินนโยบายสาธารณะ

ย้อนกลับไปเมื่อปี 2016 Rachel Botsman นักวิจัยและผู้สอนจาก Saïd Business School มหาวิทยาลัยออกซ์ฟอร์ด เริ่มการบรรยายบนเวที Ted Talks โดยการสำรวจผู้ฟังว่า ใครบ้างที่เคยเช่าหรือให้เช่าที่พักผ่าน Airbnb ใครบ้างที่ถือ Bitcoin ซึ่งคนส่วนใหญ่ในห้องบรรยายยกมือขึ้น เธอตั้งข้อสังเกตที่น่าสนใจอย่างยิ่งว่า   ‘These are all examples of how technolog...
หนี้ครัวเรือน
6 พฤษภาคม 2022

‘ชักหน้าให้ถึงหลัง’ แก้กับดักหนี้ครัวเรือนอย่างยั่งยืนด้วยการปรับโครงสร้างเชิงสถาบันของระบบการเงินและพลังท้องถิ่น

ในช่วงต้นปีที่ผ่านมา ผมมีโอกาสได้เดินทางไปยังบ้านโนนเจริญศิลป์ อำเภอวานรนิวาส จังหวัดสกลนคร ทางเข้าหมู่บ้านเป็นดินลูกรัง เมื่อรถตู้ของเราวิ่งผ่านถนนที่รายล้อมไปด้วยต้นกล้วยของชาวหมู่บ้าน จึงทำให้ฝุ่นสีแดงฟุ้งกระจายตลบอบอวลไปตลอดทาง ผมเดินทางมาที่นี่เพื่อเรียนรู้พลวัตทางเศรษฐกิจและวิถีชีวิตของ ‘คนฐานราก’ บ้านโนนเจริญศิลป์มีลูกบ้าน 236 ครัวเรือน ชาวบ...
25 กุมภาพันธ์ 2022

‘สร้างสรรค์ ปรับตัว เชื่อมต่อ’ ทำธุรกิจอย่างไรให้อายุยืนอย่างยิ่งใหญ่

ระบบเศรษฐกิจโลกผ่านปรากฏการณ์สำคัญมาแล้วหลายครั้ง บางปรากฏการณ์เป็น ‘วิกฤต’ เช่น วิกฤตราคาน้ำมันในช่วง 1970 วิกฤตเศรษฐกิจการเงินโลกในปี 2008 และล่าสุดคือวิกฤตการระบาดของเชื้อไวรัสโควิด บางปรากฏการณ์เป็น ‘การปฏิวัติอุตสาหกรรม’ นับตั้งแต่การคิดค้นแท่นพิมพ์ Gutenberg การคิดค้นคอมพิวเตอร์ในช่วงปี 1970 จนมาถึงการปฏิวัติดิจิทัลในปัจจุบัน   ปรา...
How can we change Thai economy
24 มกราคม 2022

เราจะเปลี่ยนเศรษฐกิจไทยได้อย่างไร?

ปัญหาของเศรษฐกิจไทยอาจยุ่งเหยิงจนบางครั้งก็รู้สึกว่าเราไม่สามารถเปลี่ยนแปลงอะไรได้ คล้ายกับเสียงร้องเพลงที่เบาและอ่อนโรยเกินกว่าที่ใครจะได้ยิน แต่ผมเชื่อว่ายังมีคนไทยอีกจำนวนมากที่กำลังเปล่งเสียงร้องและรอฟังเสียงของท่านอยู่ คนเหล่านี้พร้อมที่จะประสานเสียงไปกับท่าน พร้อมที่จะร่วมผลักดันให้เกิดการเปลี่ยนแปลงที่มีนัยสำคัญต่อเศรษฐกิจและสังคมไทย &nbs...
Meiji Restoration
30 ธันวาคม 2021

การฟื้นฟูเมจิ: การปฏิรูปที่สร้างสมดุลระหว่างกลุ่มผลประโยชน์และคนส่วนใหญ่ในระบบเศรษฐกิจ

การฟื้นฟูเมจิ ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของการปฏิรูปเศรษฐกิจญี่ปุ่น และเป็นปัจจัยสำคัญที่ทำให้ญี่ปุ่นก้าวขึ้นมาเป็นมหาอำนาจได้อย่างทุกวันนี้ จุดประกายให้เราเห็นว่ากลุ่มอำนาจและคนส่วนใหญ่ในระบบเศรษฐกิจสามารถหาดุลยภาพที่ดี หากยอมให้คนส่วนใหญ่มีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ บทเรียนจากญี่ปุ่นทำให้เรารู้ว่าการปฏิรูปเพื่อ ‘Empower’ คนส่วนใหญ่สามารถขับเคลื่อนใ...
The Cider House Rules
24 พฤศจิกายน 2021

สถาบันทางเศรษฐกิจกับบริบทจริงของไทย: บทเรียนจาก The Cider House Rules

ทุกท่านเคยชมภาพยนตร์เรื่อง The Cider House Rules กันไหมครับ?   The Cider House Rules เล่าเรื่องราวของ โฮเมอร์ ที่เติบโตขึ้นในสถานเลี้ยงเด็กกำพร้า St.Cloud ตั้งอยู่ในมลรัฐเมน สหรัฐอเมริกา เขาได้รับการอุปการะเป็นบุตรบุญธรรมของหมอลาร์ช ผู้อำนวยการและสูตินรีแพทย์ประจำสถานเลี้ยงเด็กกำพร้าแห่งนี้ นอกจากการทำคลอดแล้ว หมอลาร์ชยังช่วยยุติการตั้...
ปฏิรูปจากแรงจูงใจ
26 ตุลาคม 2021

‘ปฏิรูปจากแรงจูงใจ’ การปรับโครงสร้างเชิงสถาบันทางเศรษฐกิจสู่การปฏิรูปที่สัมฤทธิ์ผล

“Show me the incentive and I will show you the outcome” - Charles Thomas Munger, Vice Chairman of Berkshire Hathaway   ชาร์ลี มังเกอร์ เป็นศิษย์เก่าจากโรงเรียนกฎหมายแห่งมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด ประเทศสหรัฐอเมริกา ในปี 1995 มังเกอร์ได้รับเชิญให้ขึ้นกล่าวสุนทรพจน์ที่มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ดในหัวข้อ ‘Psychology of Human Misjudgment’ ซึ่งเขาได้เล่าป...

MOST POPULAR


Close Advertising
X