×

ดร.กำพล อดิเรกสมบัติ

ความผันผวนของค่าเงินบาท
26 ตุลาคม 2021

ราคาพลังงาน การเปิดเมือง และความผันผวนของค่าเงินบาท

ในช่วงหนึ่งเดือนที่ผ่านมา ประเด็นราคาพลังงานที่เร่งตัวขึ้น ทั้งราคาก๊าซ และราคาน้ำมันเป็นประเด็นใหญ่ ที่ทำให้นักเศรษฐศาสตร์และนักกลยุทธ์การลงทุนทั่วโลกให้ความสำคัญค่อนข้างมากว่าธนาคารกลางหลักของโลก จะจัดการอย่างไร กับตัวเลขอัตราเงินเฟ้อที่เร่งตัวขึ้นค่อนข้างมากและมีแนวโน้มยืดเยื้อมากกว่าที่เคยคาดไว้   นอกจากประเด็นของราคาพลังงานที่เพิ่มข...
QE Tapering
27 กันยายน 2021

จาก QE Tapering (with less tantrum?) สู่การลุ้น Debt Ceiling Lifting

ผ่านไปแล้วสำหรับการประชุมของธนาคารกลางสหรัฐฯ (Fed) เมื่อสัปดาห์ที่ผ่านมา ซึ่งเป็นหนึ่งในการประชุมที่ตลาดการเงินโลกให้ความสำคัญค่อนข้างมาก โดยสิ่งที่ตลาดจับตาจากการประชุมนี้คือสัญญาณที่เกี่ยวกับ QE Tapering และการขึ้นดอกเบี้ยหลังจากทำ QE Tapering เสร็จว่าจะเกิดขึ้นในปี 2022 หรือ 2023 แม้ Fed จะได้มีการส่งสัญญาณมาเป็นระยะตั้งแต่การประชุมรอบที่แล้วในเ...
market to invest
15 กันยายน 2021

ลงทุนตลาดไหนดี เมื่อนโยบายการเงินโลกเริ่มแตกต่าง

ในช่วงกลางเดือนกันยายน-ตุลาคม SCB Chief Investment Office (CIO) วิเคราะห์ 3 ประเด็นหลักที่มีผลต่อแนวโน้มการลงทุนในสินทรัพย์ทั่วโลก (Global Asset Allocation) ประกอบด้วย    ผลกระทบจากนโยบายการเงินที่เริ่มแตกต่างตามความรวดเร็วในการฟื้นตัวทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศพัฒนาแล้ว (Developed Markets: DMs) และกำลังพัฒนา (Emerging Markets: EMs) ...
Emerging Markets
24 สิงหาคม 2021

ตรวจภูมิคุ้มกัน Emerging Markets ไหวแค่ไหนเมื่อ ‘Fed’ ถอนมาตรการ QE

ในช่วงสัปดาห์ที่ผ่านมา นอกจากประเด็นการระบาดของโควิดสายพันธุ์เดลตาที่เข้ามาซ้ำเติมการฟื้นตัวที่ไม่ทั่วถึงของเศรษฐกิจและภาคธุรกิจที่เราได้คุยกันไปในบทความเดือนที่แล้ว หลายท่านที่ติดตามข่าวการเงินของโลกคงได้ยินข่าวเกี่ยวกับรายละเอียดการประชุมของคณะกรรมการการเงินของสหรัฐฯ FOMC ที่คณะกรรมการ FOMC หลายๆ ท่านเริ่มคิดว่าการเริ่มประกาศการลดการเข้าซื้อพันธบ...
Uneven Reopening
27 กรกฎาคม 2021

Uneven Reopening กับมุมมองเชิงบวกต่อตลาดหุ้นยุโรป-สหรัฐฯ

หลังช่วงต้นเดือนมิถุนายนที่ผ่านมาตลาดการเงินทั่วโลกกังวลว่าการฟื้นตัวของเศรษฐกิจและเงินเฟ้อ โดยเฉพาะในสหรัฐอเมริกาจะทำให้ US Federal Reserve (Fed) ต้องปรับนโยบายการเงินให้ตึงตัวเร็วจนเกินไป (ผ่านการลดการเข้าซื้อพันธบัตรหรือที่เรียกว่า QE Tapering และการส่งสัญญาณการขึ้นดอกเบี้ยเร็วกว่าคาด) พอเข้าช่วงปลายเดือนมิถุนายนต่อเนื่องกรกฎาคมตลาดก็กลับมาผันผว...
Fedspeak เราต้องฟังใครพูดบ้าง?
30 มิถุนายน 2021

Fedspeak เราต้องฟังใครพูดบ้าง?

เดือนที่แล้วผมเขียนถึงประเด็นตัวเลขเงินเฟ้อในสหรัฐอเมริกา ซึ่งเป็นตัวเลขที่ตลาดการเงินโลกโดยเฉพาะตลาดพันธบัตรได้ให้ความสำคัญในช่วงที่ผ่านมา เนื่องจากจะเป็นตัวเลขสำคัญเลขหนึ่งที่ธนาคารกลางสหรัฐฯ (US Federal Reserve: Fed) ใช้ในการประการตัดสินใจปรับเปลี่ยนนโยบาย และอีกประเด็นที่คุยกันคือ การสื่อสารจาก Fed ในรูปของผลการประชุม รายละเอียดการประชุม หรือกา...
เงินเฟ้อ สหรัฐ
24 พฤษภาคม 2021

ไขข้อข้องใจ เงินเฟ้อตัวไหนของสหรัฐฯ ที่ต้องติดตาม และทำไมการสื่อสารจาก Fed จึงสำคัญต่อตลาดเงินในระยะข้างหน้า?

นักเศรษฐศาสตร์รางวัล Nobel ปี 1976 มิลตัน ฟรีดแมน เคยกล่าวไว้ว่า “Inflation is taxation without legislation” หรือ ภาวะเงินเฟ้อคือการเก็บภาษีแบบหนึ่งที่ไม่จำเป็นต้องมีการออกกฎหมายมารับรอง เนื่องจากเมื่อเงินเฟ้อเร่งตัวขึ้น มูลค่าที่แท้จริงของเงินก็จะลดลง ซึ่งเหมือนกับรายได้แท้จริงของเราลดลงนั่นเอง   โดยในช่วงตั้งแต่ต้นปีที่ผ่านมา ประเด็นกา...
การฟื้นตัวของเศรษฐกิจโลก
26 เมษายน 2021

การฟื้นตัวของเศรษฐกิจโลก และผลข้างเคียงที่จะตามมา: ประเทศฟื้นช้าอาจเจ็บกว่าที่คิด

สวัสดีครับท่านผู้อ่านทุกท่าน ก่อนอื่นต้องขอขอบคุณทาง THE STANDARD ที่ให้โอกาสผมได้มาแชร์ความคิดเห็นให้กับท่านผู้อ่านทุกท่าน ครั้งนี้เป็นครั้งแรกที่ได้มีโอกาสมาเขียนใน Opinion เลยขออนุญาตเปิดด้วยภาพใหญ่ แนวโน้มเศรษฐกิจโลก รวมถึงปัจจัยต่างๆ ที่จะทำให้การฟื้นตัวของเศรษฐกิจของกลุ่มประเทศ รวมถึงภาคธุรกิจต่างๆ มีความแตกต่างกัน ทั้งในแง่ช่วงเวลา ความเร็ว ...

MOST POPULAR


Close Advertising
X