×

ดร.ปิยศักดิ์ มานะสันต์

26 ธันวาคม 2022

แบงก์ชาติญี่ปุ่น ‘ช็อกตลาด’: นัยต่อเศรษฐกิจการเงิน

ท่ามกลางกระแสข่าวเศรษฐกิจการลงทุนโลกที่น่าจะเบาบางลงในช่วงท้ายปี ธนาคารกลางญี่ปุ่น (Bank of Japan: BOJ) กลับทำการช็อกตลาดด้วยการขยายช่วงนโยบายควบคุมผลตอบแทนพันธบัตร (Yield Curve Control: YCC) จาก +/-0.25% เป็น +/-0.50% เหนือความคาดหมายของตลาด บทความนี้จึงขออนุญาตขยายประเด็นดังกล่าวนี้ใน 4 จุด ดังนี้   จุดแรก รายละเอียดโดยสังเขปของการประช...
ตลาดเกิดใหม่
27 ตุลาคม 2022

ตลาดเกิดใหม่จะเกิดวิกฤตหรือไม่

ในปัจจุบัน ความเสี่ยงวิกฤตการเงินในตลาดเกิดใหม่รวมถึงเอเชียดูเหมือนจะมากขึ้น โดยสำนักข่าว Bloomberg รายงานว่า รัฐบาลในเอเชียได้ใช้เงินทุนสำรองระหว่างประเทศไปแล้ว 5 หมื่นล้านดอลลาร์สหรัฐในเดือนกันยายนในการปกป้องค่าเงิน ขณะที่ธนาคารกลางเวียดนาม (SBV) ประกาศขยายกรอบซื้อขายอัตราแลกเปลี่ยนของค่าเงินดองเพื่อยอมให้เงินดองอ่อนค่าได้มากขึ้น และได้ขึ้นดอกเบี...
ดอกเบี้ยธนาคาร
15 สิงหาคม 2022

ดอกเบี้ยนโยบาย เป็นขาขึ้นแล้ว ดอกเบี้ยธนาคารจะเป็นเช่นไร

บทความใน THE STANDARD WEALTH ฉบับที่แล้ว เราได้กล่าวว่ายุคแห่งการเติบโตต่อเนื่องของเศรษฐกิจโลกหมดลงแล้ว ขอต้อนรับสู่ยุคใหม่ที่จะ ‘ผันผวน ไม่แน่นอน ซับซ้อน และงุนงง’ (Volatility, Uncertainty, Complexity and Ambiguity: VUCA)   ถ้าเศรษฐกิจโลกจะเข้าสู่ยุค VUCA เศรษฐกิจไทยก็คงจะเข้ายุคดอกเบี้ยขาขึ้น ในการประชุมคณะกรรมการนโยบายการเงิน (กนง.) ข...
VUCA
18 กรกฎาคม 2022

ยินดีต้อนรับสู่ยุค VUCA โลกแห่งความ ‘ผันผวน ไม่แน่นอน ซับซ้อน และงุนงง

กรณี VUCA อาจกล่าวได้ว่ายุคแห่งเศรษฐกิจแบบปกติธรรมดาหมดลงแล้ว โดยช่วงก่อนวิกฤตโควิดในแวดวงเศรษฐกิจการเงินโลกจะมีคำกล่าวว่า เศรษฐกิจในช่วงนั้นเป็นยุคแห่งการเติบโตต่อเนื่อง (The Great Moderation) อันเป็นยุคที่เศรษฐกิจเติบโตต่ำ เงินเฟ้อต่ำ ดอกเบี้ยต่ำ วินัยการเงินการคลังเริ่มดีขึ้น และดอลลาร์อ่อนค่า ขณะที่สกุลอื่นๆ ทั้งเยน ยูโร หยวน หรือแม้กระทั่งเงิน...
ทิศทางนโยบายการเงินไทย
9 มิถุนายน 2022

ทิศทางนโยบายการเงินไทย หลัง กนง. ปรับทิศ

อาจกล่าวได้ว่าเป็นการประชุมที่ทำให้ตลาดประหลาดใจมากที่สุดก็ว่าได้ สำหรับการประชุมของคณะกรรมการนโยบายการเงิน (กนง.) ของธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) ในวันที่ 8 มิถุนายน ที่แม้ผลการประชุมจะยังคงอัตราดอกเบี้ย แต่ก็ส่งสัญญาณรุนแรงว่าพร้อมจะปรับขึ้นในระยะเวลาต่อไปภายในปีนี้   ภาพนี้เป็นสัญญาณที่แตกต่างจากที่ทาง ธปท. เคยส่งก่อนหน้าว่าเศรษฐกิจไทยแ...
เศรษฐกิจโลก
6 พฤษภาคม 2022

จับตาชีพจรเศรษฐกิจโลก…น่ากังวลมากขึ้น

ในบทความฉบับที่แล้ว ‘จับตาชีพจรเศรษฐกิจโลก เข้าใกล้ภาวะถดถอยหรือยัง’ เราได้ฉายภาพว่า ความเสี่ยงเศรษฐกิจโลกถดถอย (Recession) มีมากขึ้น จากนโยบายการเงินที่จะตึงตัวขึ้น ภาวะเงินเฟ้อที่อาจลากยาวยืดเยื้อจากสถานการณ์สงคราม แต่ตัวเลขเศรษฐกิจปัจจุบันยังคงขยายตัวได้    ในบทความฉบับนี้เราจะชี้ว่า ตัวเลขเศรษฐกิจจริงได้เริ่มชะลอลงแล้ว โดยเฉพาะจ...
เศรษฐกิจโลก
11 เมษายน 2022

จับตาชีพจรเศรษฐกิจโลก เข้าใกล้ภาวะถดถอยหรือยัง

ในปัจจุบัน เริ่มมีนักเศรษฐศาสตร์กระแสรองจำนวนมากขึ้นที่มองว่าเศรษฐกิจโลกจะเผชิญกับภาวะเศรษฐกิจถดถอย โดยเฉพาะหลังจากภาวะผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลสหรัฐฯ กลับทิศ (Inverted Yield Curve) เกิดขึ้น ที่หลายฝ่ายมองว่าเป็นสัญญาณของเศรษฐกิจถดถอย (Recession) ภายใน 1-2 ปีข้างหน้า   ก่อนที่จะเจาะในประเด็นดังกล่าว อยากชวนท่านผู้อ่านพิจารณาถึงพัฒนาการเศรษฐ...
สงคราม เศรษฐกิจ
14 มีนาคม 2022

เมฆหมอกแห่งสงคราม ปัจจัยฉุดรั้งเศรษฐกิจและการลงทุนโลกในยุคถัดไป

และแล้วเหตุการณ์ที่เป็นสถานการณ์ที่เลวร้ายสุดหรือ Worst Case Scenario ก็เกิดขึ้นจริงหลังรัสเซียบุกยูเครนอย่างเต็มรูปแบบในปลายเดือนกุมภาพันธ์ที่ผ่านมา ในขณะที่ความขัดแย้งทวีความรุนแรงขึ้นอย่างต่อเนื่อง จนปัจจุบันมีผู้เสียชีวิตแล้วไม่ต่ำกว่า 1.3 หมื่นคน ผู้ที่ต้องพรากจากบ้านเรือนไม่ต่ำกว่า 2.3 ล้านคน และตึกรามบ้านช่องเสียหายไม่ต่ำกว่า 1 แสนล้านดอลลาร...
world economy
8 กุมภาพันธ์ 2022

โปรดระวัง! เศรษฐกิจโลก ปัญหาภูมิรัฐศาสตร์ และแนวโน้มดอกเบี้ย

ปัจจัยต่างๆ ที่รุมเร้าเศรษฐกิจและการลงทุนโลกในปัจจุบัน ทำให้นักลงทุนต่างสับสนในทิศทางเศรษฐกิจและการลงทุนในระยะต่อไป ไม่ว่าจะเป็นตัวเลขเศรษฐกิจที่เริ่มชะลอลง การปรับลดประมาณการเศรษฐกิจของ IMF แต่ตัวเลขตลาดแรงงานสหรัฐฯ กลับแข็งแกร่งมาก หรือจะเป็นเงินเฟ้อที่พุ่งขึ้นสูงสุดในรอบ 4 ทศวรรษ แต่องค์ประกอบภายในกลับเริ่มผ่อนคลายลง ขณะที่ในส่วนของปัญหาภูมิรัฐศ...
เศรษฐกิจและการลงทุน
19 มกราคม 2022

เปิด 3 ไพ่โจ๊กเกอร์เศรษฐกิจและการลงทุน ปี 2022

หากเปรียบการลงทุนเหมือนกับการเล่นไพ่แล้ว อาจกล่าวได้ว่าภาพเศรษฐกิจและการลงทุนในปี 2022 เล่นยากยิ่ง เพราะมีปัจจัยที่คาดเดาลำบากถึง 3 ปัจจัย หรืออีกนัยหนึ่งคือมีไพ่โจ๊กเกอร์ที่เป็น Wild Card ที่คาดเดาได้ยากถึง 3 ใบ อันได้แก่ 1. โอมิครอน 2. ธนาคารกลางสหรัฐฯ (Fed) และ 3. เศรษฐกิจจีน   อย่างไรก็ตาม เมื่อปีใหม่ผ่านพ้นไป หน้าไพ่โจ๊กเกอร์ทั้งสาม...

MOST POPULAR


Close Advertising