×

พิพัฒน์ กระแจะจันทร์

Earliest known signs of cannabis smoking unearthed in China
13 มิถุนายน 2019

ย้อนเวลา 2,500 ปี พบพิธีสูบกัญชาในงานศพ และหลักฐานที่มนุษย์อยู่คู่กับกัญชามานานแสนนาน

การค้นพบหลักฐานการปลูกกัญชาที่เก่าแก่ที่สุดของโลกนี้ถือเป็นข่าวที่ดังไปทั่วโลกในชั่วข้ามคืน เพราะมีการตั้งคำถามกันมานานแล้วว่ามนุษย์เริ่มปลูกกัญชาเพื่อเอามาใช้เป็นยารักษาอาการเจ็บป่วยจริงๆ ตั้งแต่เมื่อไรและที่ใดเป็นที่แรกๆ ของโลก หลักฐานของการสูบกัญชาปลูกนี้ค้นพบในหลุมฝังศพโบราณของประเทศจีนที่มีอายุ 2,500 ปี   ทีมนักโบราณคดีและนักวิทยาศ...
17 เมษายน 2019

บทเรียนจากมหาวิหารน็อทร์-ดาม ย้อนรอยแนวคิดการคืนสภาพอาคารสำคัญเมื่อเกิดเหตุเพลิงไหม้ อดีต-ปัจจุบัน

มหาวิหารน็อทร์-ดาม (Notre-Dame de Paris) ไม่ได้เป็นเพียงสัญลักษณ์ของชาวปารีส (ปารีเซียง) และมรดกโลกเพียงเท่านั้น หากยังเป็นต้นแบบหนึ่งของสถาปัตยกรรมยุคโกธิกที่สำคัญแห่งหนึ่งของโลก   ไฟไหม้มหาวิหารครั้งนี้จึงประเมินค่ามิได้ จึงไม่แปลกใจที่ผู้คนทั่วโลกจะอาลัยต่อความสูญเสียครั้งนี้ กระทั่งมีเศรษฐีฝรั่งเศสช่วยกันบริจาคเงินเพื่อจะช่วยบูรณะคืน...
4 เมษายน 2019

ทำไมต้องคัดค้านแท่นขุดเจาะน้ำมันโบราณสถานเขาคลัง บทเรียนจากอเมริกาถึงเมืองศรีเทพ

ถ้าไม่เกิดกระแสสังคม อุทยานประวัติศาสตร์ศรีเทพ จ.เพชรบูรณ์ คงมีชะตากรรมไม่ต่างจากอุทยานประวัติศาสตร์บางแห่งในต่างประเทศที่มีการสร้างแท่นขุดเจาะน้ำมันตั้งอยู่ใกล้หรือประชิด จนเสียภูมิทัศน์และทัศนียภาพของพื้นที่ ซึ่งเท่ากับเป็นการลดทอนคุณค่าของโบราณสถาน   ในสหรัฐอเมริกามีอุทยานประวัติศาสตร์แห่งชาติอยู่ 2 แห่งที่ประสบกับปัญหาดังกล่าวนี้อย่า...
3 มกราคม 2019

มหากาพย์ประติมากรรมหินอ่อนวิหารพาร์เธนอนกับกระแสทวงคืนโบราณวัตถุสู่บ้านเกิด

เวลาเดินในพิพิธภัณฑ์ชั้นนำของโลก เช่น บริติชมิวเซียม พิพิธภัณฑ์ลูฟวร์ หรือ กีเมต์ คุณอาจจะชื่นชมว่าโบราณวัตถุ ประติมากรรม และของจัดแสดงที่อยู่ในพิพิธภัณฑ์ว่าช่างสวยงามเหลือเกิน บางชิ้นก็ดูน่าตื่นเต้นแปลกประหลาด จนบางครั้งอดคิดไม่ได้ว่า ทำไมพิพิธภัณฑ์ในไทยจึงไม่มีของชิ้นงามๆ อย่างนี้บ้าง   แต่ถ้าคุณได้รู้ประวัติและที่มาของสิ่งของแล้วอาจจ...
21 พฤศจิกายน 2018

ลอยกระทงมาจากไหน เกี่ยวข้องกับผีและความตายอย่างไร

ทางการยังมีความเข้าใจไม่ถูกต้องเกี่ยวกับประเพณีลอยกระทง เช่น ในเว็บไซต์ของกรมส่งเสริมวัฒนธรรมให้ข้อมูลว่า ประเพณีการลอยกระทงของไทยนั้นรับ วัฒนธรรมประเพณีมาจากอินเดียเป็นส่วนใหญ่ ซึ่งในอินเดียเรียกประเพณีนี้ว่า ‘ทีปะวารี’ (ทีปาวลี) และประเพณีลอยกระทงนี้ยังเป็นพิธีบูชาพระพุทธบาทที่ริมฝั่งแม่น้ำนัมมทานทีอีกด้วย   เช่นเดียวกันกับที่ทางการยัง...
26 ตุลาคม 2018

ทำไม ‘อิฐเก่าๆ แผ่นเดียว’ ของในหลวงรัชกาลที่ 9 จึงมีค่า

เป็นที่ทราบกันเป็นอย่างดีว่า พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ทรงให้ความสนพระทัยต่องานด้านประวัติศาสตร์และโบราณคดีของชาติเป็นอย่างยิ่ง   แต่น่าสนใจที่จะตั้งคำถามว่า ทำไมในหลวงรัชกาลที่ 9 จึงได้ทรงมีพระราชดำรัสเมื่อ พ.ศ. 2506 ความว่า “...การสร้างอาคารสมัยนี้คงจะเป็นเกียรติสำหรับผู้สร้างคนเดียว แต่เรื่องโบราณสถานนั้นเป็...
25 ตุลาคม 2018

ทาสีทองให้วัดดูใหม่ คือความศรัทธาที่นำมาสู่ความพินาศของวัดและโบราณสถาน

ไม่กี่วันมานี้ในหมู่ของนักอนุรักษ์ด้านโบราณวัตถุสถานได้วิพากษ์วิจารณ์อย่างหนักต่อปัญหาที่คนกลุ่มหนึ่งซึ่งใช้ชื่อว่า ‘คนร่วมทาง’ ได้ใช้สีทองอะคริลิกไปทาอุโบสถ วิหาร ใบเสมา พระพุทธรูปทั้งใหม่และเก่าตามวัดหลายแห่งมาก อุโบสถวิหารบางหลังถึงกับสีทองไปทั้งหลังก็มี เช่น วัดโพธาราม วัดไลย์   แน่นอนครับว่าการปฏิสังขรณ์ไม่ให้วัดทรุดโทรมดูหม่นหมองนั...
5 ตุลาคม 2018

ปู่คออี้: มายาคติของการแยกคนออกจากป่า

ระหว่างที่ผมเดินเที่ยวกับชาวญัฮกุรที่ทุ่งดอกกระเจียว อุทยานแห่งชาติป่าหินงาม เมื่อไม่นานมานี้ พี่พนม ซึ่งผมรู้จักมานานหลายปี ได้เล่าให้ฟังด้วยน้ำเสียงติดตลกว่า เมื่อตอนเด็กๆ อยากมาเที่ยวทุ่งดอกกระเจียวกับเขาบ้าง ก็จะเดินตัดป่ามากับเพื่อนๆ เพราะจะได้ไม่ต้องเสียเงินค่าเข้า   เรื่องนี้ทำให้ผมตั้งคำถามว่า ทำไมคนพื้นเมืองดั้งเดิมจะต้องเสียค่...
3 กันยายน 2018

โขนเป็นของใคร ไทยหรือเขมร หรือควรจะเลิกเถียงกันได้แล้ว

ถ้ามองในระดับปรากฏการณ์ทั้งกัมพูชาและไทย รวมถึงอีกหลายประเทศในอุษาคเนย์กำลังเผชิญชะตากรรมคล้ายกันคือความขัดแย้งที่เกิดจากมรดกของยุคอาณานิคมและอาณานิคมใหม่ภายใต้นาม ‘มรดกโลก’   เรื่องโขนที่ไทยกำลังดราม่ากับกัมพูชาซึ่งคนไทยเถียงกันว่าใครเป็นเจ้าของที่แท้จริงนี้ไม่ใช่เป็นกรณีแรกของปัญหาที่มาจาก ‘Intangible Cultural Heritage’ หรือวัฒนธรรมที...
23 สิงหาคม 2018

พลิกประวัติศาสตร์โลก ค้นพบฟอสซิลมนุษย์ข้ามสายพันธุ์กับนีแอนเดอร์ทัล

นักโบราณคดีได้ค้นพบฟอสซิลกระดูกของเด็กผู้หญิง ซึ่งแสดงลักษณะของการผสมกันระหว่างมนุษย์โบราณสายพันธุ์นีแอนเดอร์ทัล (Neanderthal) กับสายพันธุ์เดนิโซแวน (Denisovan) การค้นพบครั้งนี้ถึงขั้นที่เราจำต้องเขียนประวัติศาสตร์ของมนุษยชาติกันใหม่   ผลจากการวิเคราะห์ดีเอ็นเอของกระดูกเด็กผู้หญิงคนดังกล่าว ซึ่งได้จากการขุดค้นที่ถ้ำเดนิโซวาในไซบีเรีย ได...

MOST POPULAR


Close Advertising