×

Science

23 กันยายน 2024

NASA แก้ปัญหาท่อส่งเชื้อเพลิงยาน Voyager 1 อุดตัน จากสุดขอบระบบสุริยะได้สำเร็จ

เมื่อวันที่ 27 สิงหาคม 2024 วิศวกรของภารกิจ Voyager 1 แก้ปัญหาท่อส่งเชื้อเพลิงในยานอวกาศอุดตัน ระหว่างทำงานอยู่ห่างจากโลก 24,600 ล้านกิโลเมตรได้สำเร็จ   ท่อส่งเชื้อเพลิงดังกล่าวทำให้ระบบขับดันของยานสามารถควบคุมตำแหน่ง Voyager 1 ให้หันจานรับ-ส่งสัญญาณกลับมาสู่โลก เพื่อรับคำสั่งและส่งข้อมูลจากอุปกรณ์สำรวจทางวิทยาศาสตร์ ระหว่างปฏิบัติภารกิจ...
22 กันยายน 2024

สรุปข้อมูล 2024 PT5 ดวงจันทร์ดวงที่ 2 ของโลก ที่แวะมาโคจรเพียงชั่วคราว

วันที่ 29 กันยายน อิทธิพลจากแรงโน้มถ่วงโลก ทำให้ดาวเคราะห์น้อย 2024 PT5 กลายเป็นดวงจันทร์บริวารของโลกอีกดวงเป็นการชั่วคราว   อย่างไรก็ตาม 2024 PT5 มีขนาดเพียง 10 เมตร ซึ่งเล็กกว่าดวงจันทร์ (3,475 กิโลเมตร) และมีอันดับความสว่าง หรือ Magnitude เพียง 22 โดยหากมีค่าความสว่างที่สูง แปลว่าวัตถุนั้นมีความสว่างน้อย ยกตัวอย่างเช่น ดวงอาทิตย์มีค่า...
20 กันยายน 2024

NASA เผยภาพสองกาแล็กซีกำลังชนกัน พร้อมรายละเอียดคมชัดจากกล้องเจมส์ เว็บบ์

NASA เผยภาพสองกาแล็กซีที่กำลังควบรวมกัน พร้อมรายละเอียดสุดคมชัดจากกล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์ เว็บบ์   วัตถุดังกล่าวมีชื่อว่า ‘Arp 107’ อยู่ห่างจากโลกไปประมาณ 465 ล้านปีแสง ประกอบด้วยกาแล็กซีทรงรี PGC 32628 (ทางซ้ายของภาพ) และกาแล็กซีชนิดก้นหอย PGC 32620 (ขวา) ที่พุ่งชนกันเมื่อหลายร้อยล้านปีที่แล้ว และอยู่ในกระบวนการควบรวมกันอยู่ในปัจจุบัน ...
สึนามิ
16 กันยายน 2024

ครบรอบ 1 ปี สึนามิลึกลับสูงถึง 200 เมตรในกรีนแลนด์ ที่นักวิทยาศาสตร์เพิ่งพบสาเหตุ

เคยมีคนกล่าวไว้ว่า ภัยพิบัติที่เกิดในที่เปลี่ยวร้างไร้ผู้คนนั้น ไม่นับว่าเป็นภัยพิบัติ และไม่ว่าท่านจะเห็นด้วยกับคำพูดนี้หรือไม่ เมื่อเดือนกันยายน 2023 หรือก็คือครบรอบ 1 ปีที่ผ่านมา เคยมีคลื่นสึนามิที่มีความสูงของยอดคลื่นสูงถึง 200 เมตร เกิดขึ้นมาจริงๆ บนโลกใบนี้ โดยไม่มีใครทราบเรื่องขณะเกิดเหตุเลย   ปกติแล้วคลื่นสึนามิจะเกิดจากการแทนที่...
14 กันยายน 2024

NASA เผยภาพกลุ่มดาวฤกษ์อายุน้อยที่ชายขอบกาแล็กซีทางช้างเผือก

ชวนดู ‘ดอกไม้ไฟ’ จากบรรดาดวงดาวเยาว์วัย ณ ชายขอบทางช้างเผือก ในภาพถ่ายล่าสุดจากกล้องเจมส์ เว็บบ์   นักดาราศาสตร์ใช้กล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์ เว็บบ์ ถ่ายภาพกระจุกดาวฤกษ์เกิดใหม่ในบริเวณชายขอบกาแล็กซีทางช้างเผือก เพื่อศึกษาผลกระทบของสภาพแวดล้อมในอวกาศที่แตกต่างกัน   ภาพถ่ายดังกล่าวเผยให้เห็นพื้นที่เมฆโมเลกุล Digel Cloud 2S ที่ประ...
Polaris Dawn
13 กันยายน 2024

สรุปเหตุการณ์ประวัติศาสตร์ ภารกิจ Polaris Dawn: รุ่งอรุณการสำรวจอวกาศของเอกชน

ภารกิจ Polaris Dawn ประสบความสำเร็จในการเดินทางไปไกลจากโลกที่สุดในรอบ 52 ปี และเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ที่นักบินอวกาศเอกชนได้ออกไปปฏิบัติงานภายนอกยานอวกาศ นับเป็นรุ่งอรุณของภารกิจสำรวจอวกาศยุคใหม่อย่างแท้จริง   แต่เบื้องหลังความสำเร็จของ Polaris Dawn นั้นอุดมไปด้วยความเสี่ยงด้านต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นการเดินทางไปถึงแถบรังสีที่ห้อมล้อมโลก ห...
9 กันยายน 2024

ESA นำยาน Salsa เผาไหม้ในบรรยากาศโลก ลดขยะอวกาศในวงโคจร

เช้าวันนี้ (9 กันยายน) เวลา 01.47 น. ตามเวลาประเทศไทย ยาน Salsa ของภารกิจ Cluster ถูกเผาไหม้ในบรรยากาศโลกอย่างปลอดภัย เป็นยานอวกาศลำแรกที่ถูกนำกลับมาเผาไหม้อย่างควบคุม เพื่อลดปริมาณขยะอวกาศในวงโคจรรอบโลก   องค์การอวกาศยุโรป หรือ ESA ได้ยุติการสำรวจอวกาศของภารกิจ Cluster ประกอบด้วยยานอวกาศ 4 ลำที่ถูกนำส่งขึ้นสู่วงโคจรในปี 2000 เพื่อศึกษาส...
นักบินอวกาศ
9 กันยายน 2024

นักบินอวกาศขึ้นรูปโลหะจากเครื่องพิมพ์ 3 มิติได้เป็นครั้งแรก

นักบินอวกาศ บนสถานีอวกาศนานาชาติใช้เครื่องพิมพ์ 3 มิติ พิมพ์ชิ้นส่วนโลหะบนอวกาศได้สำเร็จเป็นครั้งแรก   เครื่องพิมพ์โลหะ 3 มิติของบริษัท Airbus และหน่วยงานพันธมิตรที่ได้รับการสนับสนุนจากองค์การอวกาศยุโรป หรือ ESA ถูกนำไปติดตั้งบนสถานีอวกาศนานาชาติเมื่อเดือนมกราคม 2024 เพื่อสาธิตความสามารถขึ้นรูปโลหะในสภาพแรงโน้มถ่วงต่ำเป็นครั้งแรก &nbs...
Starliner
7 กันยายน 2024

ยาน Starliner กลับโลกอย่างปลอดภัย หลังเกิดปัญหาบนสถานีอวกาศนานาชาติ

ยาน Starliner ลงจอดอย่างปลอดภัย หลังแยกตัวจากสถานีอวกาศนานาชาติเพื่อกลับโลก แต่ไม่มีนักบินอวกาศโดยสารมาด้วย เนื่องจากไม่ผ่านเกณฑ์ความปลอดภัยของ NASA   วันนี้ (7 กันยายน) เวลา 05.04 น. ตามเวลาประเทศไทย ยานอวกาศ Starliner ของบริษัท Boeing ที่เดินทางขึ้นบินในภารกิจ Crew Flight Test หรือเที่ยวบินทดสอบพร้อมลูกเรือ แยกตัวออกจากสถานีอวกาศนานาชา...
ดาวพุธ
7 กันยายน 2024

ESA เผยภาพถ่ายล่าสุดของดาวพุธจากยานสำรวจ BepiColombo

ยานอวกาศ BepiColombo ขององค์การอวกาศยุโรป หรือ ESA ประสบความสำเร็จในการบินผ่าน ดาวพุธ เป็นครั้งที่ 4 พร้อมเผยภาพถ่ายสุดคมชัดของดาวเคราะห์ที่โคจรใกล้ดวงอาทิตย์ที่สุด   วันที่ 5 กันยายน เวลา 04.48 น. ตามเวลาประเทศไทย ยาน BepiColombo ได้บินเฉียดผ่านดาวพุธที่ความสูง 165 กิโลเมตรจากพื้นผิว เพื่ออาศัยแรงโน้มถ่วงของดาวช่วยปรับทิศให้ยานอวกาศเข้า...

MOST POPULAR


Close Advertising